20 questions
การที่โลหะรวมตัวกับอะโลหะ แล้วโลหะจะให้อิเล็กตรอนแก่โลหะ
เกิดไอออนบวกและลบดึงดูดกันด้วยแรงดึงดูดไฟฟ้าสถิตสร้างพันธะ
ไอออนิกขึ้นในสารประกอบนั้น เพราะเหตุใด
โลหะมีขนาดอะตอมเล็กกว่าอโลหะ
โลหะมีขนาดอะตอมใหญ่กว่าอโลหะ
โลหะมีค่า IE ต่ำ จึงให้อิเล็กตรอนได้ง่าย เพื่อปรับเวเลนซ์อิเล็กตรอนแบบแก๊สเฉื่อย
โลหะมีค่า IE สูง จึงให้อิเล็กตรอนได้ง่าย เพื่อปรับเวเลนซ์อิเล็กตรอนแบบแก๊สเฉื่อย
จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
1) สารประกอบไอออนิกนำไฟฟ้าได้ แต่สารประกอบโคเวเลนต์
ไม่นำไฟฟ้า
2) ธาตุหมู่ 1A และ 2A ทุกธาตุ ต่างทำปฏิกิริยากับธาตุอโลหะ
เกิดเป็นสารประกอบไอออนิก
3) พันธะไอออนิก เป็นพันธะเคมีที่เกิดจากแรงดึงดูดทางไฟฟ้า
ระหว่างไอออนบวกกับไอออนลบ
ข้อใด กล่าวถูกต้อง
ข้อ 1 และ 3
ข้อ 2 และ 3
ข้อ 3 เท่านั้น
ทุกข้อ
สารประกอบคลอไรด์ของธาตุ X อยู่ในแนวดิ่งเดียวกันกับสารประกอบคลอไรด์ของโพแทสเซียม
ข้อใดกล่าวถึงสมบัติของสารประกอบคลอไรด์ของธาตุ X ได้ถูกต้อง
1) สถานะเป็นของแข็ง
2) จุดเดือด จุดหลอมเหลวสูง
3) สารละลายเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสสีน้ำเงิน
4) สารละลายนำไฟฟ้าได้
ข้อ 1 , 2 และ 3
ข้อ 1 , 2 และ 4
ข้อ 2 , 3 และ 4
ถูกทุกข้อ
สารในข้อใด เป็นได้ทั้ง สารโคเวเลนต์ และ สารไอออนิก
H2O
SiO2
NH4Cl
MgCl2
พันธะไอออนิก(Ionic Bond) คือข้อใด
เกิดขึ้นระหว่างอะตอมของ อโลหะกับอโลหะ
เกิดขึ้นระหว่างอะตอมของ โลหะกับอโลหะ
เกิดขึ้นระหว่างอะตอมของ โลหะกับโลหะ
ผิดทุกข้อ
ข้อใด ไม่ใช่ สมบัติของสารประกอบไอออนิก
มีความแข็งแต่เปราะ
ในสภาพของแข็งไม่นำไฟฟ้า
ตีเป็นแผ่นหรือยืดเป็นเส้นได้
มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง
สารในข้อใด ไม่ได้ เกิดจากพันธะไอออนิก
Na2S , NaCl
NaNO3 , NH4Cl
NaNO3 , NH4OH
CO2 , HCl
ข้อใด เรียกชื่อสารได้ถูกต้อง
BaSO4 = แบเรียมซัลไฟด์
NaNO3 =โซเดียมไนเตรต
NH4Cl = แอมโมเนียมคลอรีน
CaO = แคลเซียมออกซิไจด์
ชื่อสารข้อใด ไม่ถูกต้อง
Cu2S : คอปเปอร์ (II) ซัลไฟด์ ,
NaCN : โซเดียมไซยาไนด์
P2O5 : ไดฟอสฟอรัสเพนทอกไซด์ ,
Al2O3 : อะลูมิเนียมออกไซด์
MnO2 : แมงกานีส (IV) ออกไซด์ ,
FeCl3 : ไอร์ออน(III) คลอไรด์
K4[Fe(CN)6] : โพแทสเซียมเซียมเฮกซะไซยาโนเฟอเรต (II)
HNO3 : กรดไตรออกโซไนตริก
สุูตรของสารไอออนิกระหว่าง โครเมียมไอออน(Cr3+) กับ ออกไซด์ไอออน(O2-) คือ
CrO
Cr3O2
Cr2O3
CrO3
พันธะที่เกิดจากแรงดึงดูดทางไฟฟ้าระหว่างไอออนบวกและไอออนลบคือพันธะใด
พันธะโคเวเลนซ์
พันธะไอออนิก
พันธะโลหะ
พันธะไฮโดรเจน
พันธะไอออนิกส่วนใหญ่เกิดจากการรวมตัวของธาตุใด
ธาตุโลหะ + ธาตุโลหะ
ธาตุอโลหะ + ธาตุอโลหะ
ธาตุโลหะ + ธาตุอโลหะ
ธาตุโลหะแทรนซิชัน + ธาตุโลหะ
สารข้อใดต่อไปนี้เป็นสารประกอบไอออนิกทั้งหมด
NaCl และ Na2S
H2O และ MgO
ClF4 และ NaF
CO2 และ HBr
ธาตุ X อยู่หมู่ 2 และธาตุ Y อยู่หมู่ 6 เมื่อรวมตัวกันจะได้สูตรของสารประกอบดังข้อใด
XY
XY2
X2Y
X2Y2
Cu2O อ่านว่าอย่างไร
คอปเปอร์ออกไซด์
คอปเปอร์(I)ออกไซด์
คอปเปอร์(II)ออกไซด์
คอปเปอร์ไดออกไซด์
สารประกอบใดต่อไปนี้ ไม่ได้เกิดจากพันธะไอออนิก
CO2
NaCl
NaNO3
BaSO4
NH4Cl เป็นพันธะไอออนิกระหว่างไอออนบวกคือ NH4+กับไอออนลบคือ Cl-
ถูก
ผิด
ข้อใด ไม่ใช่ สมบัติของสารประกอบไอออนิก
แข็ง เปราะ
จุดเดือด และจุดหลอมเหลว ต่ำ
มีหลายสี และส่วนใหญ่ละลายน้ำได้ดี
ละลายน้ำแล้วได้สารละลายที่นำไฟฟ้าได้
“อะตอมของธาตุต่างๆ รวมกันด้วยสัดส่วนที่ทำให้อะตอม
มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 8” คือข้อใด
พันธะเคมี
พันธะไอออนิก
กฎออกเดต
สารประกอบไอออนิก
ข้อใด คือ ชื่อของสารประกอบ MnO2
ก. แมงกานีสออกไซด์
ข. แมงกานีส (I) ออกไซด์
ค. แมงกานีส (II) ออกไซด์
ง. แมงกานีส (IV) ออกไซด์