No student devices needed. Know more
20 questions
อากาศเป็นสารละลายที่มีสถานะเป็นแก๊สที่ประกอบไปด้วยแก๊สใดที่มีปริมาณมากที่สุด
แก๊สออกซิเจน
แก๊สไนโตรเจน
แก๊สอาร์กอน
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
น้าอัดลม มีสารใดเป็นตัวทำละลาย
น้ำ
น้ำตาล
สี
คาร์บอนไดออกไซด์
สารละลาย (solution) มีองค์ประกอบได้แก่อะไรบ้าง
1.สารละลาย 2.ตัวละลาย 3.ตัวทำละลาย
1สารละลายของแข็ง 2.สารละลายของเหลว 3.สารละลายแก๊ส
1.ตัวละลาย 2.ตัวทำละลาย
การพิจารณาว่าสารใดเป็นตัวทำละลาย และสารใดเป็นตัวละลาย สามารถพิจารณาได้จากอะไร
ความเข้มข้นของสารละลาย
ปริมาณและสถานะของสารละลาย
องค์ประกอบของสารละลาย
สารละลายที่องค์ประกอบมีสถานะเหมือนกัน สามารถระบุตัวละลายและตัวทำละลายโดยใช้เกณฑ์อะไร
ปริมาณของสารเป็นเกณฑ์
สถานะของสารเป็นเกณฑ์
ปริมาณของสารเป็นเกณฑ์ และสถานะของสารเป็นเกณฑ์
ความเข้มข้นของสารละลายเป็นเกณฑ์
สารละลายที่องค์ประกอบมี
สถานะต่างกัน สามารถระบุตัวละลายและ
ตัวทำละลายโดยใช้อะไรเป็นเกณฑ์
ความเข้มข้อนของสารละลายเป็นเกณฑ์
ปริมาณของสารเป็นเกณฑ์
สถานะเป็นเกณฑ์
สถานะ และปริมาณของสารเป็นเกณฑ์
น้ำหวานมีอค์ประกอบของสารคือ
น้ำ ร้อยละ 86 และ น้ำตาลทราย ร้อยละ 14
จากข้อความข้างต้น ตัวละลาย
และตัวทำละลายของน้ำหวาน คืออะไร
ตัวละลาย คือ น้ำตาลทราย
ตัวทำละลาย คือ น้ำ
ตัวละลาย คือ น้ำ
ตัวทำละลาย คือ น้ำตาลทราย
เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น
ความสามารถในการละลายของสารจะเป็นอย่างไร
สูงขึ้น
น้อยลง
เท่าเดิม
สูงขึ้นหรือน้อยลงก็ได้
สารละลายที่เติมตัวละลายเพิ่มแล้วตัวละลายไม่สามารถละลายได้อีก เรียกว่าอะไร
สารละลายอิ่มตัว
สารละลาย
ตัวละลาย
ตัวทำละลาย
ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยที่มีผลต่อการละลายของสาร
อุณหภูมิ
ชนิดของตัวละลาย
ชนิดของตัวทำละลาย
ชนิดของสารละลาย
นักวิทยาศาสตร์ใช้สิ่งใดเป็นเกณฑ์ในการพิจารณาว่าสารใดเป็นตัวทำละลายใน สารละลาย
มีปริมาณสารอยู่มากและมีสถานะเดียวกับสารละลาย
มีปริมาณสารอยู่มาก และมีสถานะต่าง จากสารละลาย
มีปริมาณสารอยู่น้อย และมีสถานะ เดียวกับสารละลาย
มีปริมาณสารอยู่น้อย และมีสถานะต่าง จากสารละลาย
โซเดียมซัลเฟต 100 g ละลายได้หมดในน้ำ 500 cm3 สารละลายนี้มีความเข้มข้นเท่าใด
10 g / น้ำ 100 cm3
20 g / น้ำ 100 cm3
30 g / น้ำ 100 cm3
40 g / น้ำ 100 cm3
ถ้านำของเหลวชนิดนึ่งที่มองด้วยตาเปล่าเป็นเนื้อเดียว แต่เมื่อนำไปต้มในถาดหลุมโลหะจนแห้ง ปรากฏว่าเหลือสารที่ก้นถาดหลุมนักเรียนจะสรุปได้ว่าอย่างไร
สารดังกล่าวเป็นสารละลาย
สารดังกล่าวเป็นสารเนื้อผสม
สารดังกล่าวเป็นสารบริสุทธิ์เนื้อเดียว
สารดังกล่าวเป็นสารบริสุทธิ์เนื้อผสม
สารละลายยูเรียเข้มข้นร้อยละ 25 โดยมวล หมายความว่า ในสารละลายยูเรีย 100 กรัม มียูเรียละลายอยู่กี่กรัม
10 กรัม
15 กรัม
20 กรัม
25 กรัม
ถ้าต้องการเปรียบเทียบความสามารถในการละลายของสารชนิดหนึ่ง ณ อุณหภูมิที่แตกต่างกัน ตัวแปรตามของการทดลองนี้คืออะไร
อุณหภูมิ
ชนิดของสาร
ปริมาณตัวทำละลาย
ปริมาณตัวละลาย
สารละลายโซเดียมคลอไรด์ เข้มข้น 7 % โดยมวลต่อปริมาตร หมายความว่าอย่างไร
ในสารละลาย 100 กรัม มีโซเดียมคลอไรด์อยู่ 7 กรัม
ในสารละลาย 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร มีโซเดียมคลอไรด์ อยู่ 7 กรัม
ในสารละลาย 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร มีโซเดียมคลอไรด์อยู่ 93 กรัม
ในสารละลาย 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร มีโซเดียมคลอไรด์อยู่ 7 ลูกบาศก์เซนติเมตร
เกลือแกง 120 กรัม ละลายในน้ำ 360 กรัม สารละลายน้ำเกลือมีความเข้มข้นร้อยละเท่าไร
ร้อยละ 10 โดยมวล
ร้อยละ 20 โดยมวล
ร้อยละ 25 โดยมวล
ร้อยละ 33 โดยมวล
ปัจจัยในข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับความสามารถในการละลายของสาร
ก. ปริมาณของตัวทำละลาย
ข. ชนิดตัวทำละลาย
ค. อุณหภูมิ
ง. ขนาดของภาชนะที่ใช้บรรจุสารละลาย
ปัจจัยในข้อใดไม่มีผลต่อสภาพการละลายได้ของสาร
ที่มีสถานะเป็นของแข็ง
อุณหภูมิ
ความดัน
ขนาดของตัวละลาย
ชนิดของตัวทำละลาย
ข้อความใดกล่าวถึง น้ำเกลือความเข้มข้นร้อยละ 5
โดยมวลต่อปริมาตรได้ถูกต้อง
มีเกลือมวล 5 กรัม ละลายอยู่ในน้ำปริมาตร 95 ลูกบาศก์เซนติเมตร
มีเกลือมวล 5 กรัม ละลายอยู่ในน้ำปริมาตร 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร
มีเกลือมวล 5 กรัม ละลายยู่ในน้ำเกลือปริมาตร 95
ลูกบาศก์เซนติเมตร
มีเกลือมวล 5 กรัม ละลายยู่ในน้ำเกลือปริมาตร 100
ลูกบาศก์เซนติเมตร
Explore all questions with a free account