
2. ข้อใดที่ไม่ใช่องค์ประกอบของการวิจารณ์
3. ข้อใดที่ไม่ใช่ประโยชน์ของการวิจารณ์งานศิลปะ
4. ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับผลงานที่จะวิจารณ์ เช่น เป็นผลงานประเภทใด ชื่อภาพ ชื่อศิลปิน
เทคนิควิธีการ ขนาดของภาพ คือข้อใด
5. การนำหลักการทางศิลปะมาอัดภาพ มาจัดองค์ประกอบ การใช้สีและเทคนิคที่นำมา
สร้างสรรค์ คือข้อใด
6. เป็นขั้นตอนที่อธิบายสิ่งที่มองหรือสังเกตเห็นภายในภาพว่ามีลักษณะอย่างไร ประกอบ
ด้วยอะไรบ้าง คือข้อใด
7. เป็นขั้นตอนที่ต้องตีความหมายหรือแปลงความหมายในภาพ ว่าผู้วาดต้องการสื่อความหมายคือข้อใด
8. เป็นขั้นตอนที่ต้องพิจารณาประเมินว่า ผลงานศิลปะชิ้นนั้นมีความสวยงามในแง่ใดหรือควรปรับปรุงอย่างไร คือข้อใด
9. ขั้นตอนกระบวนการวิจารณ์งานศิลปะที่ถูกต้องคือข้อใด
10. ผู้วิจารณ์ผลงานศิลปะควรมีประสบการณ์หลายๆ ด้าน ข้อใดที่ไม่ใช่การสร้างประสบการณ์ด้านความงามของ สุกรี เจริญสุข
11. ศาสตราจารย์ปรีชา เถาทอง เป็นศิลปินแห่งชาติ พ.ศ. ใด
12. ข้อใดคือความหมายของการเต็มใจรับรู้ความงาม
13. ข้อใดที่ไม่ใช่แนวการวิจารณ์ภาพเขียนของ ปรีชา เถาทอง
14. ข้อใดที่ไม่ใช่จุดเด่นของภาพ “ด้วยสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ”ที่ปรีชา เถาทอง วิจารณ์
15. งานศิลปะที่แสดงเอกลักษณ์ของปรีชา เถาทอง คือข้อใด
16. ข้อใดที่ไม่ใช่องค์ประกอบของทัศนธาตุ
17. การจัดวางทัศนธาตุให้อยู่ในสภาพที่สมดุลหยุดนิ่ง มีน้ำหนักซ้าย-ขวาของภาพเท่ากันคือข้อใด
18. การจัดวางทัศนธาตุให้เกิดความกลมกลืนดูเป็นพวกเดียวกัน คือข้อใด
19.การจัดวางทัศนธาตุให้ดูต่างจากส่วนใหญ่เพื่อสร้างความโดดเด่นหรือเน้นในส่วนนั้นคือข้อใด
20. การจัดวางทัศนธาตุให้เป็นกลุ่มเป็นพวกและรับรู้ได้ว่าเป็นเรื่องราวเดียวกันคือข้อใด
21. ส่วนประกอบของรูปร่างต่างๆ สามารถนำมาสร้างเป็นงานออกแบบทางศิลปะให้เกิดเอกภาพได้หลายวิธี ข้อใดที่ไม่ใช่
22. ข้อใดที่ไม่ใช่ลักษณะของความกลมกลืน
23. ข้อใดที่ไม่ใช่ลักษณะของความสมดุล
24. ความสัมพันธ์ของขนาดในส่วนต่างๆของรูปทรงว่ามีความพอดีเหมาะสมคือข้อใด
25. การจัดวางทัศนธาตุที่ต้องการเน้นบนจุดซึ่งสายตามนุษย์รับรู้ได้มากที่สุดคือข้อใด
26. การวางตำแหน่งของทัศนธาตุให้มีระยะห่างเท่าๆ กันหรือให้เกิดความเป็นระเบียบคือข้อใด
27. ความหมายของทัศนธาตุคือข้อใด
28. ทัศนธาตุมีองค์ประกอบหลายอย่าง ข้อใดที่ไม่ใช่
29. เส้นตรงในแนวตั้งให้ความรู้สึกอย่างไร
30. พื้นผิวหยาบกระด้าง ขรุขระคล้ายผิวไม้ให้ความรู้สึกอย่างไร