วิธีการทางประวัติศาสตร์มีทั้งหมดกี่ขั้นตอน (ตอบเป็นตัวเลข เช่น 1)
เพราะเหตุใจจึงต้องใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์เพื่อศึกษาประวัติศาสตร์
เพื่อให้เกิดความเข้าใจขั้นตอนในการศึกษาประวัติศาสตร์
เพื่อหาความจริงจากข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์
เพื่อจัดหมวดหมู่ข้อมูลจากหลักฐานประวัติศาสตร์
เพื่อหาจุดประสงค์ของผู้สร้างหลักฐานประวัติศาสตร์
ข้อใดไม่อยู่ในขั้นตอนทางประวัติศาสตร์
การตั้งประเด็นคำคาม
การปรับแต่งข้อมูล
การรวบรวมหลักฐาน
การตีความหลักฐาน
ข้อใดคือขั้นตอนแรกของวิธีการทางประวัติศาสตร์
การค้นหาข้อมูลและการรวบรวมข้อมูล
การตั้งคำถามและการกำหนดประเด็นของการศึกษา
การอธิบายที่มีเหตุผลและมีคำตอบชัดเจน
การแสวงหาความหมายและความสัมพันธ์ของข้อมูล
การกำหนดหัวข้อหรือประเด็นที่ดีมีประโยชน์อย่างไรต่อวิธีการทางประวัติศาสตร์
บอกถึงความสนใจของผู้ศึกษาค้นคว้า
บอกถึงความสนใจของผู้ศึกษาค้นคว้า
กำหนดของข่ายของเรื่องที่จะศึกษาชัดเจน
ทำให้ทราบแหล่งข้อมูลทางประวัติศาสตร์
วิธีการในข้อใดเป็นการนำเสนอข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ให้เป็นเรื่องราว
การค้นคว้าและการตีความ
การวิเคราะห์และการสังเคราะห์
การตีความและการสังเคราะห์
การรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์มีความสำคัญต่อวิธีการทางประวัติศาสตร์อย่างไร
ให้ข้อมูลทางประวัติศาสตร์
กำหนดวิธีการทางประวัติศาสตร์
กำหนดหัวข้อหรือประเด็นทางประวัติศาสตร์
ทำให้เกิดวิธีการทางประวัติศาสตร์
ข้อใดเป็นหลักฐานสมัยประวัติศาสตร์
ลูกปัดหินสี
การเขียนสี
ซากโครงกระดูก
จารึกบนกระดูกสัตว์
หลักฐาน ข้อใดนักเรียนคิดว่าจะให้ข้อมูลประวัติศาสตร์ด้านสังคมและวัฒนธรรมน้อยที่สุด
ตำนาน
พงศาวดาร
ศิลาจารึก
โครงกระดูก
เพราะเหตุใด หลักฐานชั้นต้นมีความเชื่อถือกว่าหลักฐานชั้นรอง
หลักฐานชั้นรองใช้ข้อมูลจากหลักฐานชั้นต้น
หลักฐานชั้นต้นสร้างขึ้นปราศจากอคติ
หลักฐานชั้นต้นไม่สอดแทรกความคิดเห็นของผู้สร้าง
ผู้สร้างหลักฐานชั้นต้นทราบข้อมูลดีกว่า
การกำหนดหัวข้อเรื่องน่าสนใจจะเกิดประโยชน์อย่างไร
สะดวกในการศึกษาค้นคว้า
ศึกษาเรื่องที่แตกต่างจากผู้อื่น
เกิดการสร้างองค์ความรู้ใหม่
มีแรงกระตุ้นในการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
ข้อใดไม่ใช่ขั้นตอนการสร้างองค์ความรู้ใหม่ด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์
การรวบรวมข้อมูล
การวิเคราะห์ตีความ
การตั้งประเด็นการศึกษา
การเปรียบเทียบข้อมูลกับผู้อื่น
องค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์จะเกิดได้ด้วยเหตุผลหลายประการ ยกเว้นข้อใด
ได้ข้อมูลใหม่
เกิดเหตุการณ์ใหม่
ใช้วิธีการศึกษาแบบใหม่
เกิดแนวคิดในการสิเคราะห์ใหม่
ข้อใดคือขั้นตอนสุดท้ายของการสืบค้นความเป็นมาของท้องถิ่น
การตีความข้อมูล
การรวบรวมข้อมูล
การตรวจสอบข้อมูล
การเรียบเรียงและนำเสนอข้อมูล
ข้อใดไม่ใช่คำถามที่ใช้ในการสืบค้นความเป็นมาของท้องถิ่น
มีเศรษฐีจำนวนกี่คน
มีบุคคลสำคัญเป็นใคร
มีสถานที่สำคัญใดบ้าง
มีผู้คนตั้งถิ่นฐานมานานเท่าใด