No student devices needed. Know more
20 questions
เรื่อง ทุกข์ของชาวนาในบทกวี มาจากหนังสือรวมบทพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เรื่องใด
แก้วจอมแก่น
ความคิดคำนึง
ไทยเที่ยวพม่า
มณีพลอยร้อยแสง
“เปิบข้าวทุกคราวคำ จงสูจำเป็นอาจิณเหงื่อกูที่สูกิน จึงก่อเกิดมาเป็นคน” คำว่า “กู” หมายถึงใคร
ผู้แต่ง
ชาวนา
หลี่เซิน
จิตร ภูมิศักดิ์
บทกวีที่ผู้พระราชนิพนธ์ยกมากล่าวเป็นผลงานของใคร
จิตร ภูมิศักดิ์
วาณิช จรุงกิจอนันต์
อังคาร กัลป์ยาณพงศ์
เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์
เนื้อความในเรื่องทุกข์ของชาวนาในบทกวี แสดงให้เห็นถึงพระราชอัธยาศัยของผู้นิพนธ์อย่างไร
ชอบเป็นกวี
เข้าใจปัญหาของชาวนาจีน
แสดงบทกวีทัศน์ของชาวนา
เข้าใจปัญหาและความทุกข์ยากของชาวนา
บทความแสดงความคิดเห็น มีลักษณะอย่างไร
การแสดงความคิดเห็นโดยผ่านการวิเคราะห์
มีเหตุมีผล และสร้างสรรค์
การแสดงความคิดเห็นส่วนบุคคล สามารถบอกกล่าวอย่างไรก็ได้
การแสดงความคิดเห็นในประเด็นที่ได้รับความสนใจเท่านั้น
การแสดงความคิดเห็นที่นำมาจากข้อตกลงของส่วนรวม
เทคนิคการเขียนของหลี่เชิน มีลักษณะอย่างไร
บรรยายภาพเหมือนจิตรกรวาดภาพ
บรรยายสิ่งที่คนพบเห็นมาให้ผู้อ่านเข้าใจ
บรรยายแบบอธิบายขั้นตอนในการทำนาของชาวนา
บรรยายโดยถ่ายทอดเสมือนชาวนาเป็นผู้มาบรรยายเอง
น้ำเหงื่อที่เรื่อแดง และน้ำแรงอันหลั่งริน
สายเลือดกูทั้งสิ้น ที่สูซดกำซาบฟัน
คำที่พิมพ์ตัวหนามีความหมายว่าอย่างไร
กลืน
กระแทก
เคี้ยว
ซึมเข้าไป
บทพระราชนิพนธ์เรื่องทุกข์ของชาวนาในบทกวีมีแนวคิดสำคัญคือข้อใด
ภาพของชาวนา
การแก้ปัญหาราคาข้าว
ชีวิตและความทุกข์ยากของชาวนา
วิธีช่วยเหลือชาวนาให้พ้นทุกข์
ข้อใดแสดงให้เห็นความขัดแย้ง
หว่านข้าวในฤดูใบไม้ผลิ ข้าวเมล็ดหนึ่งจะกลายเป็นหมื่นเมล็ดในฤดูใบไม้ร่วง
รอบข้างไม่มีนาที่ไหนทิ้งว่าง แต่ชาวนาก็ยังอดตาย
ข้าวแต่ละเม็ดคือความยากแค้นแสนสาหัส
เหงื่อหยดบนดินภายใต้ต้นข้าว
คำประพันธ์ข้อใดเด่นเรื่องการใช้สัมผัสอักษร
เหงื่อกูที่สูกิน จึงก่อเกิดมาเป็นคน
น้ำเหงื่อที่เรื่อแดง และน้ำแรงอันหลั่งริน
จากแรงมาเป็นรวง ระยะทางนั้นเหยียดยาว
เบื้องหลังสิทุกข์ทน และขมขื่นจนเขียวคาว
"เมื่อครั้งเป็นนิสิต ข้าพเจ้าได้เคยอ่านผลงาน ของจิตร ภูมิศักดิ์ อยู่บ้าง แต่ก็ไม่ได้ศึกษาอย่างละเอียด หรือวิเคราะห์อะไร "
น่าจะเป็นช่วงใดของบทพระราชนิพนธ์เรื่องทุกข์ของชาวนาในบทกวี
ช่วงความนำ
ช่วงเนื้อเรื่อง
ช่วงสรุป
ช่วงความลงท้าย
ในปัจจุบันชาวนาละทิ้งการปลูกข้าว แล้วหันไปประกอบอาชีพอุตสาหกรรมมากขึ้น
มาจากสาเหตุใด
เป็นอาชีพที่ได้รับความนิยม
มีรายได้แน่นอนทุกเดือน
ได้เรียนรู้ทักษะใหม่ๆ
ไม่เหนื่อย
“เหงื่อหยดสักกี่หยาด ทุกหยดหยาดล้วน ยากเย็น
ปูดโปนกี่เส้นเอ็น จึงแปรรวงมาเปิบกิน
น้ำเหงื่อที่เรื่อแดง และน้ำแรงอันหลั่งริน
สายเลือดกูทั้งสิ้น ที่สูซดกำซาบฟัน”
บทประพันธ์นี้แสดงเจตนาตามข้อใด
ให้เห็นใจชาวนา
ให้คิดช่วยเหลือชาวนา
ให้สำนึกบุญคุณของชาวนา
ให้เห็นความเหน็ดเหนื่อยของชาวนา
“ไม่มีนาที่ไหนว่าง แต่ชาวนาก็ยังอดตาย” กวีเสนอข้อความที่มีลักษณะเป็นอย่างไร
สอดรับกันดี
เป็นเหตุเป็นผลดี
เป็นความตรงกันข้ามกัน
เป็นความเป็นไปไม่ได้
“รอบข้างไม่มีนาที่ไหนทิ้งว่าง แต่ชาวนาก็ยังอดตาย” จากข้อความนี้เป็นบทกวีของใคร
หลี่เชิน
จิตร ภูมิศักดิ์
อังคาร กัลป์ยาณพงศ์
เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์
เทคนิคในการนำเสนอเนื้อหาบทกวีจีน
คือ วิธีใด
บรรยายให้เห็นความเป็นอยู่ของชาวนา
ในยุคนั้น
เสมือนกับนำชาวนามาบรรยาย เรื่องของตนให้ผู้อ่านฟัง
บรรยายความรู้สึกอันเกิดจากความสะเทือนใจ ออกเป็นบทกวี
บรรยายภาพที่เห็นเหมือนจิตรกรวาดภาพให้คนชมสะเทือนใจ ออกเป็นบทกวี
เรื่องนี้มีวิธีการเปิดเรื่องอย่างไร
เล่าเรื่องราวในอดีต
แนะนำให้รู้จัก จิตร ภูมิศักดิ์
ยกย่องบทกวีที่จิตร ภูมิศักดิ์ เป็นผู้แต่ง
บอกที่มาของบทกวีที่จิตร ภูมิศักดิ์ เป็นผู้แต่ง
“ใครจะรู้บางว่าในจานใบนั้น ข้าวแต่ละเม็ดคือความยากแค้นแสนสาหัส” ข้อความใดตรงกับข้อความข้างต้นมากที่สุด
ข้าวนี้น่ะมีรส ให้ชนชิมทุกชนชั้น
เบื้องหลังสิทุกข์ทน และขมขื่นจนเขียวคาว
จากแรงมาเป็นรวง ระยะทางนั้นเหยียดยาวจากรวงเป็นเม็ดพลาว ล้วนทุกข์ยากลำเค็ญเข็ญ
เหงื่อหยดสักกี่หยาด ทุกหยดหยาดล้วนยากเย็น
ปูดโปนกี่เส้นเอ็น จึงแปรรวงมาเปิบกิน
ถูกทุกข้อ
คำว่า “ลำเลิก” หมายความว่าอย่างไร
ทวงบุญคุณ
ยุติ
เรือ
รวงข้าว
บทพระราชนิพนธ์เรื่องทุกข์ของชาวนาในบทกวีมีแนวคิดสำคัญคือข้อใด
ภาพของชาวนา
การแก้ปัญหาราคาข้าว
ชีวิตและความทุกข์ยากของชาวนา
วิธีช่วยเหลือชาวนาให้พ้นทุกข์
Explore all questions with a free account