No student devices needed. Know more
15 questions
สิ่งใดที่มนุษย์ไม่สามารถหลีกพ้นได้แต่ต้องกําหนดรู้ ในอริยสัจ 4
ก. ทุกข์
ข. สมุทัย
ค. นิโรธ
ง. มรรค
ข้อใด คือ ความหมายของคําว่า “นิโรธ”
ก. ความสูญสิ้น
ข. ความเสื่อมสลาย
ค. ความดับสนิท
ง. ความดับทุกข์
จุดมุ่งหมายของอริยสัจ ๔
ก. เพื่อความหลุดพ้นจากทุกข์
ข. เพื่อการปฏิบัติตนตามสภาวะธรรม
ค. เพื่อความสามัคคีในการอยู่ร่วมกัน
ง. เพื่อความสะดวกในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา
หลักอริยสัจ ๔ ข้อใดเป็นวิธีการปฏิบัติเพื่อดับตัณหา
ก. ทุกข์
ข. นิโรธ
ค. มรรค
ง. สมุทัย
ข้อใดจัดเป็นขันธ์ ๕
ก. รูป ตา หู จมูก ลิ้น
ข. ตา หู จมูก ลิ้น กาย
ค. รูป สัมผัส กลิ่น เสียง กาย
ง. รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ
ความทุกข์ทั้งปวงในอริยสัจ ๔ เกิดจากข้อใด
ก. กิเลส
ข. ขันธ์ ๕
ค. วัฏฏะ ๓
ง. ไตรลักษณ์
อำนาจขโมยโทรศัพท์เครื่องใหม่ของเพื่อนเพราะความอยากได้ จากเหตุการณ์ตรงนี้มีความสัมพันธ์ตรงกับ อกุศลกรรมบถ ๑๐ ข้อใด
ก. กายทุจริต วจีทุจริต
ข. วจีทุจริต มโนทุจริต
ค. กายทุจริต มโนทุจริต
ง. กายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต
ข้อใด คือ ความหมายของคําว่า “มรรค”
ก. ข้อปฏิบัติหรือหนทางนำไปสู่ความดับทุกข์
ข. สภาวะที่ทุกข์ดับไป
ค. เหตุเเห่งทุกข์ เกิดจากกิเลสทั้ง ๓
ความไม่สบายกายไม่สบายใจ
ข้อใด คือ ความหมายของคําว่า “ทุกข์”
ก. ข้อปฏิบัติหรือหนทางนำไปสู่ความดับทุกข์
ข. สภาวะที่ทุกข์ดับไป
ค. เหตุเเห่งทุกข์ เกิดจากกิเลสทั้ง ๓
ง. ความไม่สบายกายไม่สบายใจ
ข้อใด คือ ความหมายของคําว่า “สมุทัย”
ก. ข้อปฏิบัติหรือหนทางนำไปสู่ความดับทุกข์
ข. สภาวะที่ทุกข์ดับไป
ค. เหตุเเห่งทุกข์ เกิดจากกิเลสทั้ง ๓
ง. ความไม่สบายกายไม่สบายใจ
ธรรมที่ควรละ ตรงกับข้อใด
ก. ทุกข์
ข. นิโรธ
ค. สมุทัย
ง. มรรค
อกุศลกรรมบท ๑๐ ตรงกับข้อใด
ก. กายทุจริต ๓ วจีทุจริต ๔ มโนทุจริต ๓
ข. กายสุจริต ๓ วจีสุจริต ๔ มโนสุจริต ๓
ค. ความมักัลยาณมิตร ความถึงพร้อมด้วยศีล ความถึงพร้อมด้วยฉันทะ
ง. สมมิสสุข นิรามิสสุข
อายตนะภายนอก ตรงกับข้อใด
ก. รูป ตา หู จมูก กลิ่น เสียง
ข. ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ
ค. รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส อารมณ์
ง. ตา หู จมูก กลิ่น เสียง อารมณ์
หลักธรรมอันควรละเว้นมิให้เกิดทุกข์ ตรงกับข้อใด
ก. หลักกรรม,อกุศลกรรมบถ ๑๐,อบายมุข ๖
ข. สามิสสุข, นิรามิสสุข, สติปัฏฐาน ๔
ค. ดรุณธรรม ๖, มงคล ๓๘, กุศลกรรมบท ๑๐
ง. ขันธ์ ๕, อายตนะ
ครูผู้สอนมีชื่อตรง กับข้อใด
ก. สิริลักษณ์ สมบัติวงค์
ข. สิริลักษ์ สมบัติวงค์
ค. สิริลักษณ์ สมบัติวงศ์
ง. ศิริลักษณ์ สมบัติวงศ์
Explore all questions with a free account