No student devices needed. Know more
30 questions
ผีเสื้อวางไข่บนใบผักกาด ไข่ฟักเป็นหนอนกินใบผักกาด นกกระจอกมาจิกกินหนอน แมวตะครุบนกกระจอกเป็นอาหาร ข้อใดเป็นความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในห่วงโซ่อาหารได้ถูกต้อง
ผักกาด → ผีเสื้อ → แมว → นก
ผักกาด → ผีเสื้อ → นก → แมว
ผีเสื้อ → ผักกาด → แมว → นก
แมว → นก → ผีเสื้อ → ผักกาด
ผีเสื้อวางไข่บนใบผักกาด ไข่ฟักเป็นหนอนกินใบผักกาด นกกระจอกมาจิกกินหนอน แมวตะครุบนกกระจอกเป็นอาหาร ผู้ผลิตคือสิ่งมีชีวิตชนิดใด
นก
แมว
ผีเสื้อ
ผักกาด
ผีเสื้อวางไข่บนใบผักกาด ไข่ฟักเป็นหนอนกินใบผักกาด นกกระจอกมาจิกกินหนอน แมวตะครุบนกกระจอกเป็นอาหาร ผู้บริโภคสัตว์คือสิ่งมีชีวิตชนิดใด
ผีเสื้อและแมว
นกและแมว
ผีเสื้อและนก
นก แมว ผีเสื้อ
ข้อใดแสดงการปรับตัวให้เหมาะแก่การพรางตาจากศัตรู
ตั๊กแตนกิ่งไม้ชอบเกาะตามลำต้นพืช
กบจำศีลในรูเมื่อย่างเข้าฤดูร้อนและฤดูหนาว
ผักตบชวามีก้านใบพองเป็นกระเปาะทำให้ลอยน้ำได้ดี
ผีเสื้อมีปากเป็นงวงยาว ซึ่งเหมาะสำหรับใช้ดูดน้ำหวานจากดอกไม้
ใต้ต้นมะม่วงหลังบ้าน มีสิ่งมีชีวิตหลายชนิด เช่น มดดำ คางคก หญ้า เห็ดรา ปลวก อยู่มากมาย สิ่งมีชีวิตเหล่านี้มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันทั้งทางตรงและทางอ้อมนอกจากนี้ สิ่งมีชีวิตยังมีความสัมพันธ์กับแหล่งที่อยู่อาศัยด้วย เราเรียกความสัมพันธ์ดังกล่าวว่าอะไร
ระบบนิเวศ
สายใยอาหาร
ห่วงโซ่อาหาร
กลุ่มสิ่งมีชีวิต
ระบบนิเวศในทะเลประกอบด้วย ไดอะตอม ลูกกุ้ง ลูกปลา สาหร่ายสีน้ำตาล ปลาขนาดใหญ่ ถ้านำมาเขียนพีระมิด จำนวน สิ่งมีชีวิตชนิดใดควรอยู่ล่างสุดของพีระมิด
ไดอะตอม
ปลาขนาดใหญ่
ลูกกุ้ง ลูกปลา
สาหร่ายสีน้ำตาล
ข้อใดมีทั้งผู้ผลิต ผู้บริโภค และผู้ย่อยสลาย
แหนแดง สน กิ้งกือ
เฟิน มด แร้ง
เห็ด ปลวก เทาน้ำ
มอส ไรแดง ตะไคร่น้ำ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตคู่ใดที่เหมือนกัน
1. กบบนใบบัว 2. แบคทีเรียในลำไส้ใหญ่
3. เห็บบนตัวสุนัข 4. นกเขาบนต้นมะม่วง
1 และ 2
1 และ 3
1 และ 4
1, 2 และ 3
ความสัมพันธ์ระหว่างงูกับเหยี่ยวเปรียบได้กับความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตคู่ใด
1. เหาฉลามเกาะติดปลาฉลาม
2. พยาธิตัวตืดในลำไส้ของคน
3. หนอนผีเสื้อที่กัดกินใบคะน้า
4. ต้นฝอยทองที่พันอยู่รอบก้านใบโกศล
5. แบคทีเรียที่อยู่ที่ปมรากพืชตระกูลถั่ว
เฉพาะ 4
เฉพาะ 3
1, 2 และ 3
2, 3 และ 4
ข้อใดไม่จัดเป็นระบบนิเวศ
บ่อน้ำที่มีสิ่งมีชีวิตอยู่เต็ม
สนามกีฬาในโรงพลศึกษา
อุทยานแห่งชาติและป่าสงวน
สนามหญ้าและสระน้ำหน้าโรงเรียน
โครงสร้างของระบบนิเวศประกอบด้วยปัจจัยใหญ่ๆ 2 ประการ คือ
ปัจจัยทางบกและน้ำ
ปัจจัยทางน้ำและอากาศ
ปัจจัยทางกายภาพและเสถียรภาพ
ปัจจัยทางกายภาพและชีวภาพ
ข้อใดมีทั้งผู้ผลิต ผู้บริโภคและผู้ย่อยสลาย
เห็ดแดง สน กิ้งกือ
เฟิร์น มด แร้ง
เห็ด ปลวก เทาน้ำ
มอส ไรแดง ตะไคร้น้ำ
สิ่งมีชีวิตกลุ่มใดที่สามารถเปลี่ยนอนินทรียสารให้เป็นอินทรียสาร
พืชสีเขียว
สัตว์กินพืช
สัตว์กินเนื้อ
ผู้ย่อยสลาย
“มดดำและเพลี้ยอาศัยอยู่ร่วมกันบนต้นมะม่วง” ข้อใดเกี่ยวข้องกับข้อความนี้มากที่สุด
ประชากร
แหล่งที่อยู่
ระบบนิเวศ
กลุ่มสิ่งมีชีวิต
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง การหายใจและการขับถ่าย ทั้ง 3 กระบวนการทำให้เกิดการหมุนเวียนสารใดคืนสู่ระบบนิเวศ
น้ำ
คาร์บอน
ไนโตรเจน
ออกซิเจน
ข้อใดที่ ไม่ได้ กล่าวถึงกลุ่มสิ่งมีชีวิต
ปลา ปู หอย กุ้ง ในลำธารที่มีน้ำจืด
มด หอยทาก เห็ดรา บนขอนไม้ลอยน้ำ
มด ปลวก หนู ค้างคาว ที่อาศัยในนาข้าว
ปลากราย 200 ตัวในบ่อเลี้ยงปลาริมทางเดิน
อะไรที่ ไม่ใช่ แหล่งที่อยู่
ลำไส้ใหญ่ของคนเป็นที่อยู่ของแบคทีเรีย
ต้นไม้เป็นที่อยู่ของนกและแมลงชนิดต่างๆ
ลำไส้ปลวกมีโปรโตซัวที่ย่อยเซลลูโลสได้
บ้านปลูกใหม่ยังไม่มีคนและสัตว์ใดไปอาศัยอยู่
กลุ่มสิ่งมีชีวิตประกอบด้วยอะไรบ้าง
ผู้ผลิต
ผู้บริโภค
ผู้สลายสารอินทรีย์
ถูกทุกข้อ
บริเวณที่กลุ่มสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่คืออะไร
ภูเขา
ทุ่งนา
ป่าไม้
แหล่งที่อยู่
ปัจจัยที่กำหนดให้เกิดความเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากรคือข้อใด
อาหารและที่อยู่อาศัย
อาหารและปรสิตรวมถึงผู้ล่า
กลุ่มของประชากรอื่นในที่อยู่อาศัยเดียวกัน
อัตราการเกิดและการตาย อัตราการอพยพเข้า อพยพออก
1) ไบโอม เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอะไร?
ก. ชีวนิเวศ
ข. ชีวจิตนา
ค. ชีวิต
ง. ชีวมวล
2) ข้อใดคือปัจจัยทางกายภาพทั้งหมด?
ก. อุณหภูมิ ความชื้น แสงแดด
ข. อุณหภูมิ ทุนดรา แร่ธาตุ
ค. อุณหภูมิ ทุนดรา น้ำ
ง. อุณหภูมิ ป่าดิบ แร่ธาตุ
3) ข้อใดไม่ใช่ไบโอมบก?
ก. ไบโอมน้ำกร่อย
ข. ไบโอมทุนดรา
ค. ไบโอมดิบเขา
ง. ไบโอมดิบแล้ง
5) สายใยอาหารที่ประกอบด้วยสิ่งมีชีวิตดังต่อไปนี้ นกหัวขวาน เหยี่ยว หนอนบุ้ง ไส้เดือนดิน และเชื้อรา การถ่ายทอดพลังงานเริ่มต้นจากสิ่งมีชีวิตในข้อใด
ก. เหยี่ยว
ข. หนอนบุ้ง
ค. ไส้เดือนดิน
ง. เชื้อรา
6) ข้อใดเรียงลำดับของพืชที่น่าจะพบเมื่อทำการเผาไร่ข้าวโพดแล้วปล่อยให้รกร้าง ได้อย่างถูกต้อง
ก. ข้าวโพด – หญ้า – แห้วกระเทียม – ไม้พุ่ม – ไม้ต้น
ข. ข้าวโพด – แห้วกระเทียม – ไม้ต้น – ไม้พุ่ม – หญ้า
ค. ข้าวโพด – ไม้ต้น – ไม้พุ่ม – แห้วกระเทียม – หญ้า
ง. ข้าวโพด – หญ้า – ไม้พุ่ม – ไม้ต้น – แห้วกระเทียม
นักเรียนคนหนึ่งสังเกตขอนไม้จามจุรีที่อยู่ริมสระน้ำพบว่า มีสิ่งมีชีวิตอยู่ที่ขอนไม้ คือ ปลวก ตัวทาก ตะไคร่น้ำ คางคก เห็ดรา ผู้ผลิตในระบบนิเวศนี้คือสิ่งใด คางคกควรจะกินอะไรเป็นอาหาร
เห็ดรา
ปลวก
ตะไคร่น้ำ
ตัวทาก
ใต้ต้นมะม่วงหลังบ้าน มีสิ่งมีชีวิตหลายชนิด เช่น มดดำ คางคก หญ้า เห็ดรา ปลวก อยู่มากมาย สิ่งมีชีวิตเหล่านี้มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันทั้งทางตรงและทางอ้อมนอกจากนี้ สิ่งมีชีวิตยังมีความสัมพันธ์กับแหล่งที่อยู่อาศัยด้วย เราเรียกความสัมพันธ์ดังกล่าวว่าอะไร
ระบบนิเวศ
สายใยอาหาร
ห่วงโซ่อาหาร
กลุ่มสิ่งมีชีวิต
ในอ่างเลี้ยงปลาที่จัดให้อยู่ในสภาพสมดุลแล้วนำมาทำให้ปิดสนิท สิ่งมีชีวิตในอ่างเลี้ยงปลานั้นจะมีชีวิตอยู่ได้นานประมาณเท่าใด
อยู่ได้นานไม่เกิน 2 เดือน
เมื่อไนโตรเจนในน้ำถูกใช้หมด
เมื่อออกซิเจนในน้ำถูกใช้จนหมด
เมื่ออุณหภูมิพอเหมาะและได้รับแสงสว่างมากเพียงพอ
กิจกรรมการอพยพเข้าและออกของนกปากห่างที่วัดไผ่ล้อม จัดเป็นการปรับตัวให้เหมาะสมในด้านใด
สรีระ (Physiological Adaptation)
สัณฐาน (Morphological Adaptation)
พฤติกรรม (Beihavioral Adaptation)
ทั้ง 1 และ 3 ผิด เพราะการอพยพไม่จัดเป็นการปรับตัว
ความสัมพันธ์ระหว่างงูกับเหยี่ยวเปรียบได้กับความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตคู่ใด
เหาฉลามเกาะติดปลาฉลาม
พยาธิตัวตืดในลำไส้ของคน
หนอนผีเสื้อที่กัดกินใบคะน้า
ต้นฝอยทองที่พันอยู่รอบก้านใบโกศล
Explore all questions with a free account