No student devices needed. Know more
60 questions
โมเมนตัมคืออะไร
มวลคูณความเร็ว
มวลคูณความเร่ง
แรงต่อเวลา
แรงคูณเวลา
จากกฏข้อที่สองของนิวตัน ทำให้เราทราบว่าในการชนกันของวัตถุเป็นไปตามข้อใด
แรงเป็นปฏิกิริยาภาคโดยตรง
แรงมีค่าเท่ากับโมเมนตัมต่อเวลา
แรงมีค่าเท่ากับโมเมนตัมคูณเวลา
แรงเป็นปฏิภาคโดยตรงกับการเปลี่ยนแปลง
โมเมนตัมเป็นปริมาณชนิดใดและมีหน่ายเป็นอะไร
เป็นปริมาณเวกเตอร์ มีหน่วยเป็น นิวตัน.เมตร/วินาที
เป็นปริมาณเวกเตอร์ มีหน่วยเป็น กิโลกรัม.เมตร/วินาที
เป็นปริมาณสเกลาร์ มีหน่วยเป็น นิวตัน.เมตร/วินาที
เป็นปริมาณสเกลาร์ มีหน่วยเป็น กิโลกรัม.เมตร/วินาที
สิ่งที่ต้องเกิดขึ้นเสมอเมื่อมีการชนกันเป็นไปตามกฏข้อใด
กฏการอนุรักษ์พลังงานจลน์
กฏการอนุรักษ์โมเมนตัม
กฏการอนุรักษ์พลังงานกล
กฏการอนุรักษ์การดล
ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับโมเมนตัม
โมเมนตัม คือ ปริมาณสเกลาร์
โมเมนตัม คือ ปริมาณการเคลื่อนที่ของวัตถุ
โมเมนตัม คือ ผลคูณของมวลกับความเร่งของวัตถุ
โมเมนตัม คือ สภาพการเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงเสมอ
เมื่อเราเหยียบคันเร่งเพื่อให้รถยนต์มีความเร็วเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าปริมาณใดมีค่าเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า
พลังงานศักย์ของรถยนต์
พลังงานจลน์ของรถยนต์
โมเมนตัมของรถยนต์
ความเร่งของรถยนต์
วัตถุที่กำลังเคลื่อนที่ต้องมีปริมาณใดต่อไปนี้
ความเร่ง
การดล
พลังงานจลน์
พลังงานศักย์
การชนแบบยืดหยุ่นสมบูรณ์มีปริมาณใดที่คงที่
พลังงานจลน์แต่ไม่ใช่โมเมนตัม
โมเมนตัม แต่ไม่ใช่พลังงานจลน์
ทั้งโมเมนตัมและพลังงานจลน์
ไม่คงที่ทั้งพลังงานจลน์และโมเมนตัม
จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ ข้อความใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการชนของวัตถุ
พลังงานจลน์ก่อนชนเท่ากับพลังงานจลน์หลังชน
พลังงานรวมของระบบก่อนการชนเท่ากับพลังงานรวมของระบบหลังการชน
โมเมนตัมของระบบมีค่าคงตัว เมื่อแรงลัพธ์ที่กระทำต่อระบบไม่เป็นศูนย์
กฎการอนุรักษ์โมเมนตัมใช้ไม่ได้กับวัตถุเดียว
ปัจจัยใดที่มีผลต่อโมเมนตัม
มวลกับความเร็ว
ความเร่งกับความเร็ว
พลังงานศักย์กับมวล
ความเร่งกับมวล
เมื่อวัตถุตั้งแต่ 2 ก้อนขึ้นไปชนกัน ข้อความใดต่อไปนี้เป็นจริงเสมอ
โมเมนตัมของวัตถุแต่ละก้อนไม่เปลี่ยนแปลง
พลังงานจลน์ของวัตถุแต่ละก้อนไม่เปลี่ยนแปลง
โมเมนตัมทั้งหมดไม่เปลี่ยนแปลง
พลังงานจลน์ทั้งหมดเปลี่ยนแปลง
วัตถุที่กำลังเคลื่อนที่ต้องมีปริมาณใดต่อไปนี้
ความเร่ง
การดล
พลังงานจลน์
พลังงานศักย์
วัตถุหนึ่งเมื่อระเบิดแตกออกเป็น 2 เสี่ยง จะพบว่า
ทั้ง 2 เสี่ยงเคลื่อนที่ในทิศตรงกันข้าม ในบางครั้ง
ทั้ง 2 เสี่ยงมีพลังงานจลน์เท่ากันเสมอ
ทั้ง 2 เสี่ยงมีโมเมนตัมไม่เท่ากันเสมอ
ทั้ง 2 เสี่ยงมีโมเมนตัมเท่ากันเสมอ
ข้อใดถูกต้อง
1.โมเมนตัมเป็นปริมาณเวกเตอร์ มีทิศไปทางเดียวกับทิศความเร็ว
2.โมเมนตัมเป็นปริมาณเวกเตอร์ มีทิศไปทางเดียวกับทิศการเคลื่อนที่
3.กราฟความสัมพันธ์ระหว่างโมเมนตัมกับความเร็ว ความชันกราฟมีหน่วยเช่นเดียวกับหน่วยของมวล
4.กราฟความสัมพันธ์ระหว่างโมเมนตัมกับความเร็ว ความชันกราฟมีค่าเท่ากับมวลของวัตถุ
1
1, 2
1, 2, 3
1, 2, 3, 4
วัตถุที่มีโมเมนตัมจำเป็นต้องมีปริมาณใดต่อไปนี้
พลังงานจลน์
พลังงานศักย์
ความเร่ง
การดล
ปล่อยวัตถุมวล 100 g ให้ตกจากที่สูง 20 m โมเมนตัมของวัตถุขณะที่ชนพื้นเป็นเท่าใด (ให้ g = 10 m/s2)
80 N.S
20 N.S
10 N.S
2 N.S
จงหาโมเมนตัมของรถยนต์มวล 2 x 103 kg ซึ่งกำลังเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 72 km / hr
6 x104 kg.m / s
4 x 104 kg.m / s
2 x 104 kg.m / s
104 kg.m / s
ลูกบอลตกกระทบพื้น แล้วสะท้อนกลับด้วยอัตราเร็วเท่าเดิม ลูกบอลมีปริมาณที่เปลี่ยนไปคือ
1.โมเมนตัม
2. ความเร็ว
3. พลังงานจลน์
คำตอบที่ถูกต้อง คือ
1, 2, 3
2, 3
1, 3
1, 2
โมเมนตัมของวัตถุที่เปลี่ยนไปเป็นปริมาณเวกเตอร์มีทิศเดียวกับ
ความเร็วที่เปลี่ยนไป
ความเร็วต้น
ความเร็วปลาย
ความเร็วเฉลี่ย
แรงที่ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง
1. มวล
2. ความเร็ว
3. เวลาที่ใช้ในการเปลี่ยนโมเมนตัม
คำตอบที่ถูกต้อง คือ
1, 2, 3
2, 3
1, 3
1, 2
วัตถุมวล 2 kg ตกลงจากที่สูง 500 m จะมีการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมเท่าใดตั้งแต่เริ่มตกจนถึงพื้น
1,000 N.s
200 N.s
100 N.s
50 N.s
ปล่อยวัตถุมวล 2 kg ลงในแนวดิ่ง เมื่อเวลาผ่านไป 2 วินาที โมเมนตัมของวัตถุเปลี่ยนแปลงเท่าใด
70 N.s
40 N.s
20 N.s
10 N.s
ปาวัตถุมวล 0.5 kg ขึ้นไปในแนวดิ่งด้วยความเร็ว 20 m/s เมื่อเวลาผ่านไป 4 s โมเมนตัมเปลี่ยนไปเท่าใด
30 N.s
20 N.s
10 N.s
5 N.s
ไข่ 2 ใบ ขนาดเท่ากัน ตกลงจากที่สูงเท่ากัน โดยไข่ A ตกลงบนฟองน้ำ แต่ไข่ B ตกลงบนพื้นไม้ ปรากฏว่าไข่ B แตก ไข่ A ไม่แตก ทั้งนี้เป็นเพราะอะไร
1. อัตราการเปลี่ยนโมเมนตัมของ B มากกว่า A ขณะกระทบพื้น
2. แรงที่พื้นกระทำต่อ B มากกว่าแรงที่พื้นกระทำต่อ A
3. ขณะที่ตกถึงพื้น ไข่ B ถูกทำให้หยุดเร็วกว่าไข่ A
4. ในขณะถึงพื้น โมเมนตัมของ B มากกว่าของ A
5. แรงดลแปรผกผันกับเวลา ( F ∝ ½ )
2, 3, 4, 5
1, 2, 3, 5
1, 2, 3, 4
1, 2, 3
จากกราฟ มีแรงกระทำกับวัตถุ ในช่วงเวลาที่มีแรงกระทำนั้น ( จากวินาทีที่ 1 – 3 ) จะทำให้วัตถุเปลี่ยน โมเมนตัมไปเท่าใด (kg.m/s)
20 kg.m/s
15 kg.m/s
10 kg.m/s
5 kg.m/s
จากกราฟ มีแรงกระทำกับวัตถุ ในช่วงเวลาที่มีแรงกระทำนั้น (จากวินาทีที่ 1 – 3) จะทำให้แรงเฉลี่ยที่กระทำต่อวัตถุมีค่ากี่นิวตัน
10 N
5.0 N
2.5 N
0.5 N
ถ้าลูกบอลมวล m วิ่งเข้าชนกำแพงด้วยความเร็ว u โดยทำมุม กับเส้นตั้งฉาก ดังรูป ถ้าลูกบอลใช้เวลา t ในการกระทบ จงหาโมเมนตัมที่เปลี่ยนไป
2mu cos θ / t
2 mu cos θ . t
2 mu cos θ . F
2 mu cos θ
เทิดศักดิ์เตะลูกบอลมวล 0.5 kg ทำให้ลูกบอลเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 20 m/s เข้าชนฝาผนังในแนวตั้งฉาก แล้วสะท้อนกลับออกมาในแนวเดิมด้วยอัตราเร็ว 20 m/s เท่ากัน ถ้าลูกบอลกระทบฝาผนังนาน 0.05 วินาที จงหา
1. การดลของลูกบอล
2. แรงเแฉลี่ยที่ฝาผนังกระทำต่อลูกบอล
การดล = 5 kg.m/s แรงเฉลี่ย = 100 N
การดล = 10 kg.m/s แรงเฉลี่ย = 200 N
การดล = 15 kg.m/s แรงเฉลี่ย = 300 N
การดล = 20 kg.m/s แรงเฉลี่ย = 400 N
ปล่อยลูกบอลมวล 0.6 kg จากที่สูง 20 m ลงกระทบพื้น ปรากฏว่าลูกบอลกระดอนขึ้นจากพื้นได้ สูงสุด 5 m ถ้าเวลาตั้งแต่เริ่มปล่อยลูกบอลจนกระทั่งลูกบอลกระดอนถึงตำแหน่งสูงสุดเท่ากับ 3.05 วินาที จงหาแรงดลเฉลี่ยที่กระทำต่อลูกบอลนี้
460 N
360 N
250 N
150 N
การดลที่กระทำบนวัตถุหนึ่งจะมีค่าเท่ากับการเปลี่ยนแปลงของปริมาณใดต่อไปนี้
แรง
พลังงานจลน์
โมเมนตัม
ความเร็ว
วัตถุมวล 2 กิโลกรัม กำลังเคลื่อนที่ไปทางทิศใต้ ด้วยความเร็ว 6 เมตรต่อวินาที ถูกแรงกระทำสม่ำเสมอเป็นเวลา 0.2 วินาที ทำให้วัตถุมีความเร็ว 4.5 เมตรต่อวินาที ไปทางทิศตะวันออก ข้อใดแสดงโมเมนตัมที่เปลี่ยนไปได้ถูกต้อง
วัตถุมวล 2 กิโลกรัม กำลังเคลื่อนที่ไปทางทิศใต้ ด้วยความเร็ว 6 เมตรต่อวินาที ถูกแรงกระทำสม่ำเสมอเป็นเวลา 0.2 วินาที ทำให้วัตถุมีความเร็ว 4.5 เมตรต่อวินาที ไปทางทิศตะวันออก จงหาโมเมนตัมของวัตถุที่เปลี่ยนไปในหน่วย นิวตัน.วินาที ( N.s )
15
12
6
3
วัตถุมวล 2 กิโลกรัม กำลังเคลื่อนที่ไปทางทิศใต้ ด้วยความเร็ว 6 เมตรต่อวินาที ถูกแรงกระทำสม่ำเสมอเป็นเวลา 0.2 วินาที ทำให้วัตถุมีความเร็ว 4.5 เมตรต่อวินาที ไปทางทิศตะวันออก จงหาแรงที่กระทำต่อวัตถุมีขนาดกี่นิวตัน
150
120
90
75
รถยนต์คันหนึ่งเร่งให้มีความเร็วเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าแสดงว่า
1. โมเมนตัมของรถเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า
2. ความเร่งของรถเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า
3. พลังงานจลน์ของรถเพิ่มขึ้นเป็นสี่เท่า
ข้อความใดถูกต้อง
ข้อ 1 , 2 และ 3
ข้อ 1 , 3
ข้อ 2 , 3
ข้อ 1, 2
มวลสองก้อนเท่ากัน ก้อนหนึ่งหยุดนิ่ง เมื่อชนกันแล้วติดกันไป แสดงว่า
1. โมเมนตัมของระบบไม่เปลี่ยน
2. พลังงานจลน์ของระบบลดลง
3. ก้อนแรกที่นำหน้าจะมีความเร็วมากกว่า
ข้อความใดถูกต้อง
ข้อ 1 , 2 และ 3
ข้อ 1 , 3
ข้อ 2 , 3
ข้อ 1, 2
จงพิจารณาเหตุการณ์ต่อไปนี้
1. คนอยู่บนรถแล้ววิ่งไปข้างหน้า ทำให้รถถอยหลังไปบนพื้นฝืดเป็นผลให้โมเมนตัมของระบบคงที่
2. กระสุนปืนพุ่งชนแท่งไม้ซึ่งวางบนพื้น แล้วเคลื่อนที่ติดไปด้วยกัน ปรากฏว่าพลังงานจลน์ของระบบเปลี่ยน แสดงว่าเป็นการชนแบบไม่ยืดหยุ่น
3. วัตถุ ระเบิดเป็นสามส่วน แต่ละส่วนเคลื่อนที่คนละทิศ เหตุการณ์นี้โมเมนตัมของระบบคงที่
ข้อใดถูก
ข้อ 1 , 2 และ 3
ข้อ 1 , 3
ข้อ 2 , 3
ข้อ 1, 2
บอลมวล 2.5 กิโลกรัม เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 2 เมตรต่อวินาที เข้าชนกล่องมวล 5 กิโลกรัม ซึ่งอยู่นิ่ง ภายหลังชน บอลหยุดนิ่งแต่กล่องเคลื่อนที่ต่อไปในทิศเดิมด้วยความเร็วกี่เมตรต่อวินาที
2.5
2.0
1.5
1.0
บอลมวล 2.5 กิโลกรัม เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 2 เมตรต่อวินาที เข้าชนกล่องมวล 5 กิโลกรัม ซึ่งอยู่นิ่ง ภายหลังชน บอลหยุดนิ่งแต่กล่องเคลื่อนที่ต่อไปในทิศเดิม อยากทราบว่าเป็นการชนแบบยืดหยุ่นหรือไม่
ไม่ยืดหยุ่น เพราะว่า ΣEk คงที่
ไม่ยืดหยุ่น เพราะว่า ΣEk ลดลง
ไม่ยืดหยุ่น เพราะว่า ΣEk เพิ่มขึ้น
ยืดหยุ่น เพราะว่า ΣEk คงที่
มวล 1 กิโลกรัม มีความเร็ว 4 เมตรต่อวินาที พุ่งเข้าชนมวล 4 กิโลกรัม ซึ่งสวนมาด้วยความเร็ว 3 เมตรต่อวินาที ในแนวเส้นผ่านศูนย์กลางมวล ภายหลังการชนมวลทั้งสองติดกันไป จงหาพลังงานจลน์ที่หายไปเป็นกี่จูล
22.5
19.6
14.4
4.8
การชนตามข้อใดมีการสูญเสียพลังงานจลน์มากที่สุด
ภายหลังการชนเคลื่อนที่ตั้งฉากกัน
ภายหลังการชนเคลื่อนที่สวนทางกัน
ภายหลังการชนเคลื่อนที่ไปทางเดียวกัน
ภายหลังการชนเคลื่อนที่ติดกันไป
ลูกระเบิดลูกหนึ่งมวล 3 กิโลกรัม กลิ่งเป็นแนวเส้นตรงไปบนพื้นราบที่ไม่มีแรงเสียดทานด้วยความเร็ว 5 เมตรต่อวินาที ปรากฏว่าลูกระเบิด ระเบิดออกเป็นสองส่วนมวลเท่ากัน โดยส่วนที่หนึ่งเคลื่อนที่ต่อไปในแนวเดิม ด้วยความเร็ว 15 เมตรต่อวินาที ดังนั้นอีกส่วนหนึ่งจะเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว
5 เมตรต่อวินาที ตามแนวเดิมไปด้านหลัง
5 เมตรต่อวินาที ตามแนวเดิมไปด้านหน้า
10 เมตรต่อวินาที ตามแนวเดิมไปด้านหลัง
10 เมตรต่อวินาที ตามแนวเดิมไปด้านหน้า
ลูกกลม 2 ลูก มวล A และ B มีมวลเท่ากัน A มีขนาดความเร็วก่อน 3 เมตรต่อวินาที และ B อยู่นิ่ง ดังรูป จงหาขนาดของความเร็วของลูกกลมทั้งสองภายหลังชน ตามลำดับ ( เมตรต่อวินาที ) เมื่อ sin 37° = ⅗
2.5 , 1.1
2.5 , 0.8
2.4 , 1.8
2.4 , 0.9
วัตถุ A มวล 1 กิโลกรัม และวัตถุ B มวล 3 กิโลกรัม วางบนพื้นที่ไม่มีความเสียดทาน มีเชือกผูกต่อกัน โดยเชือกไม่ตึง ดังรูป ถ้าออกแรงผลักวัตถุ A ให้เริ่มเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 16 เมตรต่อวินาที อัตราเร็วสุดท้ายของวัตถุ A และ B มีค่ากี่เมตรต่อวินาที
10
8
4
20
โมเมนตัมเป็นปริมาณที่สัมพันธ์กับข้อใดมากที่สุด
มวล
แรง
มวลและความเร็ว
มวลและอัตราเร็ว
ข้อใดเป็นหน่วยโมเมนตัมในระบบเอสไอ
กิโลกรัม.เมตร/วินาที
นิวตัน.วินาที
จูล/วินาที
ข้อ 1 และข้อ2
ถ้า P เป็นโมเมนตัมของวัตถุ และ v เป็นความเร็วของวัตถุ ความสัมพันธ์ข้อใดถูกต้อง
Pαv
Pα v2
Pα 1/v
Pα 1/v2
โมเมนตัมและความเร็วมีทิศสัมพันธ์กันอย่างไร
ทิศไปทางเดียวกัน
ทิศตรงข้ามกัน
ทิศตั้งฉากกัน
ข้อ 1 และข้อ2
วัตถุเคลื่อนที่แนวตรงไปทางทิศตะวันออกโดยเพิ่มความเร็วการดลมีทิศไปทางใด
ทิศตะวันออก
ทิศตะวันตก
ทิศเหนือ
ทิศใต้
วัตถุเคลื่อนที่แนวตรงไปทางทิศตะวันออกโดยลดความเร็วการดลมีทิศไปทางใด
ทิศตะวันออก
ทิศตะวันตก
ทิศเหนือ
ทิศใต้
ออกแรง F ดันวัตถุ มวล m ให้เปลี่ยนความเร็วจาก u เป็น v ในทิศทางเดียวกันจงหาขนาดการดลในช่วงที่เปลี่ยนความเร็ว
mv-mu
mv+mu
F(mv-mu)
F(mv+mu)
ถ้า F เป็นแรงดลที่กระทำต่อวัตถุช่วงเวลา ะ ความสัมพันธ์ในข้อใดถูกต้อง
F α t
F α 1/t
F α t2
F α 1/ t2
ข้อใดหมายถึงแรงดล
อัตราการเปลี่ยนโมเมนตัม
การดลในหนึ่งหน่วยเวลา
ความเร่งในหนึ่งหน่วยเวลา
ข้อ 1และข้อ2
โมเมนตัมของวัตถุมีลักษณะตามข้อใด
แปรผันตรงตามความเร็วกำลังสอง
แปรผันตรงตามความเร็ว
แปรผันตรงตามความเร่ง
แปรผันตรงกับเวลา
เมื่อวัตถุตั้งแต่ 2 ก้อนขึ้นไปชนกัน ข้อความใดต่อไปนี้เป็นจริงเสมอ
โมเมนตัมของวัตถุแต่ละก้อนไม่เปลี่ยนแปลง
พลังงานจลน์ของวัตถุแต่ละก้อนไม่เปลี่ยนแปลง
โมเมนตัมทั้งหมดไม่เปลี่ยนแปลง
พลังงานจลน์ทั้งหมดเปลี่ยนแปลง
สุเชาว์เตะลูกบอลกระทบกำแพงด้วยความเร็ว 20 m/s มีโมเมนตัมของลูกบอลขณะกระทบกำแพงเท่ากับ 10kg.m/s ลูกบอลจะมีมวลเท่าใด
0.5 kg
1.0 kg
1.5 kg
2.0 าเ
จากกฎข้อที่สองของนิวตันทำให้เราทราบว่าในการชนกัน ของวัตถุเป็นไปตามข้อใด
แรงเป็นปฏิภาคโดยตรงกับเวลา
แรงมีค่าเท่ากับโมเมนตัมคูณเวลา
แรงมีค่าเท่ากับโมเมนตัมต่อเวลา
แรงเป็นปฏิภาคโดยตรงกับการเปลี่ยนโมเมนตัม
ปล่อยวัตถุมวล 2 kg ลงในแนวดิ่ง เมื่อเวลาผ่านไป 2 วินาที โมเมนตัมของวัตถุเปลี่ยนแปลงเท่าใด
70 N.s
40 N.s
20 N.s
10 N.s
ปาวัตถุมวล 0.5 kg ขึ้นไปในแนวดิ่งด้วยความเร็ว 20 m/s เมื่อเวลาผ่านไป 4 s โมเมนตัมเปลี่ยนไปเท่าใด
30 N.s
20 N.s
10 N.s
5 N.s
โมเมนตัมเป็นปริมาณชนิดใดและหน่วยคืออะไร
เป็นปริมาณเวกเตอร์ มีหน่วยเป็น นิวตัน.เมตร/วินาที
เป็นปริมาณเวกเตอร์ มีหน่วยเป็น กิโลกรัม.เมตร/วินาที
เป็นปริมาณสเกลาร์ มีหน่วยเป็น นิวตัน.เมตร/วินาที
เป็นปริมาณสเกลาร์ มีหน่วยเป็น กิโลกรัม.เมตร/วินาที
ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับโมเมนตัม
โมเมนตัม คือ ปริมาณสเกลาร์
โมเมนตัม คือ ปริมาณการเคลื่อนที่ของวัตถุ
โมเมนตัม คือ ผลคูณของมวลกับความเร่งของวัตถุ
โมเมนตัม คือ สภาพการเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงเสมอ
Explore all questions with a free account