No student devices needed. Know more
25 questions
ข้อใดไม่ใช่ชื่อของพระยาอุปกิตศิลปาสาร
นิ่ม กาญจนาชีวะ
อ.ก.ก
อนึก คำชูชีพ
นายอนงค์
ผู้ประพันธ์เรื่องกลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้า คือใคร
พระยาเมธาบดี
พระยาอนุมานราชธน
พระยาอุปกิตศิลปสาร
กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
ข้อใดมิใช่ผลงานการประพันธ์ของผู้แต่ง กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้า
ไขภาษา
สละกันเพราะแต่งงาน
สงครามภารตคำกลอน
สยามไวยากรณ์
ผู้แต่ง กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้า เคยเป็นอาจารย์สอนพิเศษนิสิตอักษรศาสตร์มหาวิทยาลัยใด
มหาวิทยาลัยศิลปากร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเศรษฐศาสตร์
กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้า ผู้แต่งมีจุดมุ่งหมายในข้อใด
เพื่อแสดงความรู้สึกของกวี
เพื่อแสดงความสามารถของกวี
เพื่อทูลเกล้าฯ ถวายพระมหากษัตริย์
เพื่อถ่ายทอดบทกวีที่ไพเราะของอังกฤษให้คนไทยได้อ่าน
ข้อใดไม่ถูกต้องตามฉันทลักษณ์ของ “กลอนดอกสร้อย”
เป็นกลอนแปด
ต้องจบด้วยคำว่า “เอย”
วรรคสดับมีลักษณะดังนี้ “O เอ๋ย O O”
ไม่มีสัมผัสในและวรรคต้องมี ๘ คำเท่านั้น
ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับเนื้อเรื่องของ กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้า
มีหนุ่มสาวคู่หนึ่งไปนั่งอยู่ในป่าช้าของวัดแห่งหนึ่งในชนบท
ขณะที่ผู้แต่งฯ นั่งอยู่ในที่นั่นเป็นเวลาที่ชาวนานำวัวควายกลับบ้านอย่างเหนื่อยอ่อน
ตะวันลับฟ้ามีพระจันทร์ขึ้นนกบินกลับรังเห็นหลุมฝังศพแล้วเยือกเย็นและเงียบเหงา
ผู้แต่ง “กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้า” จึงได้ถ่ายทอดความรู้สึกจากการที่ได้เห็นสิ่งต่างๆ เหล่านั้น
คำประพันธ์ในข้อใดไม่บอกเวลา
วังเอ๋ยวังเวง หง่างเหง่ง ! ย่ำค่ำระฆังขาน
ชาวนาเหนื่อยอ่อนต่างจรกลับ ตะวันลับอับแสงทุกแห่งหน
ฝูงวัวควายผ้ายลาทิวากาล ค่อยค่อยผ่านท้องทุ่งมุ่งถิ่นตน
ไม่มีใครได้เชยเลยสักคน ย่อมบานหล่นเปล่าดายมากมายเอย
คุณค่าด้านเนื้อหาของ กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้า คือข้อใด
มุ่งแสดงสัจธรรมของชีวิต
มุ่งแสดงคุณค่าของชีวิต
แสดงความสำคัญของชีวิต
มุ่งแสดงความเป็นไปของชีวิต
“แห่งหลุมลึกลานสลดระทดใจ เรายิ่งใกล้หลุมนั้นทุกวันเอย” วรรคหลังของคำประพันธ์ข้างต้นมีความหมายตรงกับข้อใด
เรายิ่งใกล้หลุมฝังศพเข้าไปทุกที
เรายิ่งใกล้ความหลุดพ้นเข้าไปทุกที
เรายิ่งใกล้ความเงียบสงบเข้าไปทุกที
เรายิ่งใกล้ความตายเข้าไปทุกที
“วิถีแห่งเกียรติยศทั้งหมดนั้น แต่ล้วนผันมาประจบหลุมศพเอย” คำประพันธ์ข้างต้นนี้ให้ข้อคิดในเรื่องใด
ความตายเป็นสิ่งจริงแท้แน่นอน
หลุมฝังศพเป็นเกียรติยศของมนุษย์
มนุษย์ทุกคนย่อมหนีความตายไปไม่พ้น
ถูกเฉพาะข้อ ก และข้อ ค
คำประพันธ์ในข้อใดสอนให้เรารู้จัก “ปลง”
อากาศเยือกเย็นหนาวคราววิกาล สงัดปานป่าใหญ่ไร้สำเนียง
แห่งหลุมลึกลานสลดระทดใจ เรายิ่งใกล้หลุมนั้นทุกวันเอย
โอ้เหมือนปลุกร่างกายนอนรายเรียง พ้นสำเนียงที่จะปลุกให้ลุกเอย
ทิ้งทุ่งให้มืดมัวทั่วมณฑล และทิ้งตนตูเปลี่ยวอยู่เดียวดาย
คำประพันธ์ในข้อใดไม่มีความหมายเปรียบ
กองเอ๋ยกองข้าว กองสูงราวโรงนายิ่งน่าใคร่
อากาศเย็นเยือกหนาวคราววิกาล สงัดปานป่าใหญ่ไร้สำเนียง
ถือเป็นที่รโหฐานนมนานมา ให้เสื่อมผาสุกสันต์ของมันเอย
ลงในเพลิงเกียรติศักดิ์ประจักษ์ดัง เปลวเพลิงปลั่งหอมกลบตลบเอย
“เพื่อรักษาความสราญฐานวิเวก ร่มชื้อเฉกหุบเขาลำเนาไศล
สันโดษดับฟ้งซ่านทะยานใจ ตามวิสัยชาวนาเย็นกว่าเอย"
จากคำประพันธ์ข้างต้นนี้ ชาวนาได้รับการยกย่องสรรเสริญในเรื่องใดมากที่สุด
ความสุข
ความขยัน
ความเพียร
ความสันโดษ
จากคำประพันธ์ในข้อ ๓๒ คำว่า “ชื้อ” มีความหมายตรงกับข้อใด
เย็น ร่ม ชื้น
อับ ทึบ อึมครึม
สงบ สบาย ร่มรื่น
วิเวก เงียบเหงา โดดเดี่ยว
“ยึดหางยามยักไปตามใจจินต์ หางยามผินตามใจเพราะใครเอย”
คำว่า “หางยาม” ในคำประพันธ์ข้างต้นนี้หมายถึงข้อใด
ต้นข้าว
หางวัว
ใกล้รุ่ง
หางไถตรงที่จับมือ
คำว่า “กวีเถื่อน” ตรงกับคำในปัจจุบันว่าอะไร
รัตนกวี
กวีแก้ว
ลำนำกวี
กวีนิรนาม
ต่อไปนี้ข้อใดไม่ถูกต้องตามเนื้อหาใน “กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้า”
“ห่างเอ๋ยห่างไกล” หมายถึง ไกลจากพวกมักใหญ่ใฝ่สูง
“ซากเอ๋ยซากศพ” หมายถึง ซากศพของคนชั้นต่ำพวกชาวนาชาวไร่
“ดวงเอ๋ยดวงมณี” หมายถึง ของดีมีคุณค่า มีราคา หรือมีประโยชน์
“ทอดเอ๋ยทอดทิ้ง” หมายถึง คนเราเมื่อตายแล้วก็ทิ้งแล้วซึ่งทุกสิ่งทุกอย่างที่เคยมี
"บุปผชาติชูสีมีกลิ่น อยู่ในถิ่นที่ไกลเช่น...............................
ภูผา
ไพรสณฑ์
กล้าหาญ
บันดาล
ฝูงวัวควายผ้ายลา......................... ค่อยค่อยผ่านท้องทุ่งมุ่งถิ่นตน
เถาวัลย์
ทิวากาล
รายเรียง
คันไถ
................เหนื่อยอ่อนจรกลับ ตะวันลับอับแสงทุกแห่งหน
สันโดษ
อุทิศ
จารึก
ชาวนา
เกิดเพราะการเก็บเกี่ยวเพราะเคียวใคร ใครเล่าไถคราดฟื้นพื้น...........
สำเนียง
แผ่นดิน
อำนาจ
กล้าหาญ
ผู้แต่งฯ ในระหว่างที่บวชอยู่นั้นได้ศึกษาพระธรรมวินัย จนจบได้เปรียญกี่ประโยค
๕ ประโยค
๖ ประโยค
๗ ประโยค
๘ ประโยค
ผู้แต่งฯ เป็นผู้บัญญัติคำว่าอะไร
ขอบคุณ
ขอโทษ
สวัสดี
ลาก่อน
เรื่องกลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้า แต่งด้วยคำประเภทใด
กลอนแปด
กลอนสี่
กลอนดอกสร้อย
กลอนหก
Explore all questions with a free account