No student devices needed. Know more
30 questions
พิจารณาการเกิดสนิมของเหล็ก ตามสมการ
4Fe + 3O2 ---> 4Fe3+ +6O2–
ข้อความใดต่อไปนี้ที่ไม่ถูกต้อง
ปฏิกิริยานี้เป็นปฏิกิริยาออกซิเดชัน–รีดักชัน
โลหะเหล็กถูกรีดิวซ์
โลหะเหล็กเป็นตัวรีดิวซ์
O2 เป็นตัวออกซิไดส์
เราจะพิสูจน์ว่า ตะปูเป็นสนิมไปแล้ว โดยใช้สารใด
K2Cr2O7
KMnO4
K3[Fe(CN)6]
K2CrO4
ภาวะแวดล้อมที่ทำให้โลหะชุบโครเมียมของกันชนรถยนต์เกิดการผุกร่อนเร็วที่สุดคือ
ความชื้น และอากาศ
ความชื้น และคาร์บอนไดออกไซด์
น้ำ และออกซิเจน
น้ำทะเล และอากาศ
Cu2+ + 2e– ---> Cu E0 = +0.34 V
Sn2+ + 2e– ---> Sn E0 = –0.14 V
Fe2+ + 2e– ---> Fe E0 = –0.44 V
Al3+ + 3e– ---> Al E0 = –1.66 V
Ba2+ + 2e– ---> Ba E0 = –2.90 V
โลหะใดผุกร่อนได้ง่ายที่สุด
Cu
Sn
Fe
Ba
การขึ้นสนิมของโลหะ เกิดจากการทำปฏิกิริยาระหว่างโลหะกับแก๊สออกซิเจน และความชื้นในอากาศได้เป็นออกไซด์ของโลหะ แนวโน้มที่จะเกิดสนิมของโลหะ เรียงจากมากไปน้อยได้ดังข้อใด
Fe , Zn , Al , Cu
Cu , Fe , Zn , Al
Al , Zn , Fe , Cu
Al , Zn , Cu , Fe
เมื่อนำทองแดงมาพันกับเหล็ก แล้วทิ้งไว้ ปรากฏว่า เหล็กเป็นฝ่ายผุกร่อนไป แต่เมื่อนำแมกนีเซียมมาพันกับเหล็ก ปรากฏว่า แมกนีเซียมเป็นฝ่ายผุกร่อนไป
ถ้าเรียงลำดับความยากง่ายในการเสียอิเล็กตรอนของโลหะทั้งสามจากง่ายไปหายาก ตรงตามข้อใด
Cu > Fe > Mg
Fe > Cu > Mg
Mg > Fe > Cu
Fe > Mg > Cu
A2+(aq) + 2e– ---> A(s) E0 = – 2.38 V
B3+(aq) + 3e– ---> B(s) E0 = –1.66 V
C2+(aq) + 2e– ---> C(s) E0 = – 0.74 V
D2+(aq) + 2e– ---> D(s) E0 = – 0.44 V
E2+(aq) + 2e– ---> E(s) E0 = – 0.14 V
ข้อใดแสดงขั้วที่ผิดสำหรับภาวะป้องกันการผุกร่อนของโลหะ D เมื่อถูกฉาบด้วยโลหะอื่น
จากการศึกษาการผุกร่อนของโลหะ X พบว่า เมื่อนำชิ้นโลหะ Y มาผูกติดไว้กับ X จะช่วยป้องกันการผุกร่อนของ X ได้ ข้อความใดควรเป็นสมบัติของ X และ Y
โลหะ X เป็นตัวรีดิวซ์ที่ดีกว่า Y
โลหะ X ให้อิเล็กตรอนง่ายกว่า Y
โลหะ Y เป็นตัวรีดิวซ์ที่ดีกว่า X
ค่า E0 ของ Y มากกว่าค่า E0 ของ X
ข้อความต่อไปนี้ ข้อใดไม่ถูกต้อง
ตะปูเหล็กที่ทาสี ไม่เกิดสนิม เพราะสีป้องกันไม่ให้เหล็กถูกกับน้ำและออกซิเจน
ตะปูเหล็กที่เชื่อมกับสังกะสี จะเกิดสนิมมากขึ้น เพราะสังกะสีมีค่า E0 มากกว่าเหล็ก
ตะปูเหล็กที่ต่อกับขั้วบวกของถ่านไฟฉาย จะเป็นสนิมมาก เพราะตะปูเหล็กทำหน้าที่เป็นแอโนด จึงเสียอิเล็กตรอนให้แก่ขั้วบวกของถ่านไฟฉาย
ตะปูเหล็กที่จุ่มอยู่ในน้ำ จะเป็นสนิมมาก เพราะสัมผัสกับน้ำและออกซิเจนมาก
การทดลองต่อไปนี้ ข้อใดทำให้ตะปูเหล็กเกิดสนิมได้มากที่สุด
นำตะปูต่อกับชิ้น Zn แล้วแช่น้ำกลั่น โดยให้ด้านที่ไม่ต่อกับ Zn อยู่พ้นผิวน้ำ
วางตะปูในน้ำ ให้ท่วมครึ่งหนึ่ง
นำตะปูแช่น้ำ โดยให้ปลายด้านหนึ่งอยู่พ้นผิวน้ำ และต่อปลายนี้เข้ากับขั้วบวกของถ่านไฟฉาย
นำตะปูแช่น้ำ โดยให้ปลายด้านหนึ่งอยู่พ้นผิวน้ำ และต่อปลายนี้เข้ากับขั้วลบของถ่านไฟฉาย
การป้องกันการผุกร่อนด้วยวิธีแคโทดิก (Cathodic) คือ
การทำให้โลหะนั้นมีสภาวะเป็นแคโทด
การทำให้โลหะนั้นมีสภาวะเป็นแอโนด
การต่อตะปูเหล็กเข้ากับขั้วลบของถ่านไฟฉาย
การพันตะปูเหล็กกับโลหะที่เสีย e– ยากกว่า
วิธีการทดสอบว่า การทำอะโนไดซ์แผ่น Al เกิดขึ้นสมบูรณ์แล้วหรือยัง คือ
ทดสอบการนำไฟฟ้าแผ่น Al ที่ทำอะโนไดซ์แล้ว ถ้าไม่นำไฟฟ้า แสดงว่าเกิดสมบูรณ์แล้ว
ทดสอบการนำไฟฟ้าแผ่น Al ที่ทำอะโนไดซ์แล้ว ถ้านำไฟฟ้า แสดงว่าเกิดสมบูรณ์แล้ว
ดูที่สีของแผ่น Al ที่ทำอะโนไดซ์แล้ว ถ้าเป็นสีเทาทั้งแผ่น แสดงว่าเกิดสมบูรณ์แล้ว
ดูที่สีของแผ่น Al ที่ทำอะโนไดซ์แล้ว ถ้าเป็นสีดำทั้งแผ่น แสดงว่าเกิดสมบูรณ์แล้ว
ทดลองจุ่มโลหะต่าง ๆ ลงในสารละลายที่ภาวะมาตรฐานดังนี้
1. จุ่ม Cu ลงในสารละลาย Ag+
2. จุ่ม Ag ลงในสารละลาย Fe2+
3. จุ่ม Fe ลงในสารละลาย Zn2+
4. จุ่ม Zn ลงในสารละลาย Na+
การทดลองในข้อใดที่โลหะไม่ผุกร่อน
1
1 , 2
1 , 2 , 3
2 , 3 , 4
การที่นิยมใช้โครเมียมหรือดีบุกชุบเหล็ก เพื่อป้องกันสนิม เพราะ
(ค่า E0 ดีบุก = –0.14 V เหล็ก = –0.44 V โครเมียม = –0.74 V)
โครเมียมผุกร่อนได้เร็วกว่าเหล็ก
ดีบุกผุกร่อนได้ยากกว่าเหล็ก
ทั้งโครเมียมและดีบุกไม่เป็นสนิม
เมื่อเกิดการผุกร่อน จะได้ออกไซด์ที่สลายตัวยาก
ข้อความที่เกี่ยวข้องกับการผุกร่อนของเหล็ก ข้อใดไม่ถูกต้อง
ปฏิกิริยารีดักชัน 1/2O2(g) + H2O(l) + 2e– ---> 2OH–(aq)
ถ้ามีกรดอยู่ด้วย จะทำให้การผุกร่อนเกิดได้เร็วขึ้น
ภายหลังการผุกร่อน สารละลายจะมี pH น้อยกว่า 7
เหล็กจะผุกร่อนช้าลง ถ้านำมาผูกติดกับ Mn (ซึ่งมี E0 < Fe)
ถ้าจุ่มแท่งเหล็กลงในสารละลายต่อไปนี้;
CuSO4 , SnSO4 , ZnSO4 และ Al2(SO4)3
E0 Cu2+ = +0.34 V Sn2+ = –0.14 V Fe2+ = –0.44 V
Zn2+ = –0.76 V Al3+ = –1.66 V
แท่งเหล็กจะผุกร่อนในสารละลายใดบ้าง
SnSO4 , Al2(SO4)3
ZnSO4 , Al2(SO4)3
CuSO4 , ZnSO4
CuSO4 , SnSO4
ถ้าต้องการทำภาชนะด้วยโลหะบริสุทธิ์จำนวน 3 ใบ เพื่อใช้ใส่สารละลาย Sn2+, Cd2+ และ Cr3+ โดยไม่ให้เกิดการผุกร่อนนั้น ควรเลือกทำด้วยโลหะชนิดใด E0 Cu = +0.34 V Ni = –0.25 V Fe = –0.44 V Al = –1.66 V Sn =–0.14 V Cd = –0.40 V Cr = –0.74 V
Cu
Ni
Fe
Al
สารเคมีในข้อใดต่อไปนี้ ไม่เกี่ยวข้องกับการรมดำ
ไตรคลอโรเอทิลีน
โซเดียมไฮดรอกไซด์
โซเดียมไนเตรต
โซเดียมคลอไรด์
สารละลายรมดำ ประกอบด้วย
NaNO3 และ NaOH ในน้ำ
C2HCl 3 และ HCl ในน้ำ
NaNO3 และ HCl ในน้ำ
NaOH และ C2HCl3 ในน้ำ
สารที่ใช้ทดสอบ Fe2+ คือสารใดและให้ผลการทดสอบเป็นอย่างไร
ฟีนอล์ฟทาลีน ได้สีชมพูอ่อน
K3Fe(CN)6 ได้สีน้ำเงิน
K4Fe(CN)6 ได้สีน้ำเงิน
NH4SCN ได้สีแดง
ถ้าไม่ต้องการให้ถังที่ทำจากโลหะนิกเกิลเกิดการกัดกร่อน ไม่ควรจะบรรจุสารใดต่อไปนี้
Zn(NO3)2
Pb(NO3)2
Mg(NO3)2
Mn(NO3)2
เราใช้สารใดทดสอบการกัดกร่อนของเหล็ก และถ้าเกิดการกัดกร่อนจะได้สีใด
ฟีนอล์ฟทาลีน สีชมพู และ K3Fe(CN)6 สีน้ำเงิน
ฟีนอล์ฟทาลีน สีชมพู และ K4Fe(CN)6 สีน้ำเงิน
K3Fe(CN)6 สีน้ำเงิน และ NH4SCN สีแดง
K4Fe(CN)6 สีน้ำเงิน และ NH4SCN สีแดง
จากการทดลองต่อไปนี่ บีกเกอร์ 4 เป็นตะปูเหล็กที่พันด้วยลวด Mg บีกเกอร์ 5 เป็นตะปูเหล็กที่พันด้วยลวดทองแดง หลังจากเวลาผ่านไป 1 วัน หยด K3[Fe(CN)6] ลงไป ควรได้ผลดังนี้
บีกเกอร์ 4 ได้สีน้ำเงิน แต่บีกเกอร์ 5 ไม่มีสี
บีกเกอร์ 4 ไม่มีสี แต่บีกเกอร์ 5 ได้สีน้ำเงิน
ทั้งบีกเกอร์ 4 และบีกเกอร์ 5 ได้สีน้ำเงิน
ทั้งบีกเกอร์ 4 และบีกเกอร์ 5 ไม่มีสี
Pb2+(aq) + 2e– --->Pb(s) E° = – 0.13 V
Ni2+(aq) + 2e– ---> Ni(s) E° = – 0.24 V
Zn2+(aq) + 2e– ---> Zn(s) E° = – 0.76 V
Mn2+(aq) + 2e– ---> Mn(s) E° = – 1.18 V
Mg2+(aq) + 2e– ---> Mg(s) E° = – 2.36 V
ถ้าไม่ต้องการให้ถังที่ทำจากโลหะนิกเกิลเกิดการกัดกร่อน ไม่ควรจะบรรจุสารใดต่อไปนี้
Zn(NO3)2
Pb(NO3)2
Mg(NO3)2
Mn(NO3)2
การทำอะโนไดซ์อะลูมิเนียม ดังรูป ก, ข และ ค คืออะไรตามลำดับ
ก= Al ขั้วแอโนด ข= Al ขั้วแคโทด ค= H2C2O4 ผสม H2SO4
ก= Al ขั้วแคโทด ข= Al ขั้วแอโนด ค= H2C2O4 ผสม H2SO4
ก= Al ขั้วแอโนด ข= Al ขั้วแคโทด ค= H4C2O2 ผสม H2SO4
ก= Al ขั้วแคโทด ข= Al ขั้วแอโนด ค= H4C2O2 ผสม H2SO4
ข้อใดเป็นปฏิกิริยาที่ขั้วแคโทดของการทำอะโนไดซ์อะลูมิเนียม
4OH– ---> O2 + 2H2O + 4e–
2H+ + 2e– ---> H2
4Al + 3O2 ---> 2Al2O3
4OH– + 4Al + O2 ---> 2Al2O3 + 2H2
จากรูป เป็นวิธีป้องกันการผุกร่อนของโลหะวิธีหนึ่ง ซึ่งตรงกับข้อใด
การรมดำ
การทำอะโนไดซ์
การชุบโลหะด้วยกระแสไฟฟ้า
การทำแคโทดิก
โลหะใดไม่นิยมนำมารมดำ
แคลเซียม
เหล็ก
ทองแดง
เงิน
จากรูป เป็นวิธีการป้องกันการผุกร่อนของท่อเหล็กใต้ดินด้วยวิธีใด
Cathodic
Blackening
electroplating
electrorefining
สารประกอบ FeO(OH) ที่มีสีน้ำตาลดำ เรียกชื่อว่าอะไร
Cepidiocrocite
sacrificial
nitrite borax
cathodic
Explore all questions with a free account