No student devices needed. Know more
29 questions
ต่อมใดของร่างกายทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของต่อมไร้ท่อทั้งหมด
ก.ต่อมไทมัส
ข.ต่อมไทรอยด์
ค.ต่อมไพเนียล
ง.ต่อมใต้สมอง
ต่อมใดมีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคคอพอก
ก. ต่อมพิทูอิทารี
ข.ต่อมไพเนียล
ค.ต่อมไทรอยด์
ง.ต่อมหมวกไต
ต่อมไทรอยด์สัมพันธ์กับสารอาหารชนิดใด
ก.ไขมัน
ข.โปรตีน
ค.ไอโอดีน
ง.แคลเซียม
ข้อใดไม่ใช่โรคที่เกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ
โรคเกาต์
โรคเหน็บชา
โรคเบาหวาน
โรคพาร์กิมสัน
ต่อมไร้ท่อใดหากถูกทำลายอาจทไให้เสียชีวตได้ เพราะเหตุใด
ต่อมไทมัส เพราะทำให้กล้ามเนื้ออ่อนแรงและติดเชื้อ
ต่อมหมวกไตส่วนนอก เพราะทำให้หัวใจเต้นเร็ว และความดันโลหิตสูง
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า เพราะร่างกายสูญเสียน้ำจึงทำให้เกิดภาวะขาดน้ำ
ต่อมพาราไทรอยด์ เพราะทำให้กล้ามเนื้อเกิดอาการเกร็ง ชัก และหัวใจเต้นช้าลง
หากตรวจพบว่ามีน้ำตาลในปัสสาวะ แสดงว่าเกิดความผิดปกติของฮอร์โมนใด
อินซูลิน
ออกซิโทซิน
วาโซเพรสซิน
อะดรีนาลิน
โรคไทรอยด์เป็นพิษ เกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อใด
ตับอ่อน
ต่อมเพศ
ต่อมไทรอยด์
ต่อมพาราไทรอยด์
ถ้าร่างกายขาดฮอร์โมนกลูคากอน จะส่งผลกระทบต่อร่างกายอย่างไร
ไม่ส่งผลกระทบใดๆ
ร่างกายเตี้ย แคระแกร็น
ทำให้ปริมาณน้ำตาลในเลืือดสูงผิดปกติ
ร่างกายขาดความสมดุลของน้ำและเกลือแร่
นักเรียนคนใดดูแลรักษาระบบต่อมไร้ท่อไม่ถูกต้อง
เอ ออกกำลังกายด้วยการเดิน
ซี หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูง
บี ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงเป็นประจำ
ดี ดื่มเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์
ข้อใดเป็นผลจากการที่ต่อมพาราไทรอยด์ผลิตฮอร์โมนมากเกินไป
ทำให้เป็นโรคกระดูกพรุน
หิวเร็ว กินเก่ง แต่น้ำหนักลด
ทำให้ร่างกายสูงใหญ่ผิดปกติ
ทำให้เป็นหนุ่มเป็นสาวเร็วกว่าปกติ
ข้อใดไม่ใช่ความสำคัญของฮอร์โมนที่มีต่อร่างกาย
ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
ควบคุมระดับเลือดในร่างกาย
ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกาย
ควบคุมการเผาผลาญพลังงานในร่างกาย
ต่อมใต้สมองมีหน้าที่ควบคุมต่อมไร้ท่อต่างๆ ยกเว้นข้อใด
ต่อมเพศ
ต่อมไทรอยด์
ต่อมหมวกไต
ต่อมพาราไทรอยด์
ฮอร์โมนที่ร่างกายหลั่งออกมา เพื่อเพิ่มพลังงานพิเศษให้กับร่างกายเมื่อร่างกายเผชิญกับภาวะฉุกเฉิน
ก. เอสโตรเจน
ข. อะดรีนาลิน
ค. โพรเจสเทอโรน
ง. โกสฮอร์โมน
การคิดในเชิงบวก มีผลต่อการทำงานของระบบต่อมไร้ท่อ อย่างไร
ก. ต่อมใต้สมองหลั่งฮอร์โมนได้ดี
ข. ตับอ่อนควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี
ค. ต่อมหมวกไตสร้างฮอร์โมนอะดรีนาลินได้ดี
ง. ต่อมไทมัสควบคุมการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันได้ดี
ต่อมไร้ท่อในข้อใด หากทำงานน้อยเกินไปจะส่งผลทำให้
ร่างกายเกิดความแคระแกร็น
ก. ต่อมไทมัส
ข. ต่อมไทรอยด์
ค. ต่อมไพเนียล
ง. ต่อมพิทูอิทารี
ต่อมไร้ท่อในข้อใด ทำหน้าที่พิเศษในการเก็บธาตุไอโอดีน
ก. ต่อมไทมัส
ข. ต่อมไทรอยด์
ค. ต่อมไพเนียล
ง. ต่อมพิทูอิตารี
ต่อมที่สร้างฮอร์โมนโพรเจสเทอโรนคือต่อมใด
ก. ต่อมไทรอยด์
ข. ต่อมหมวกไต
ค. ต่อมเพศผู้ชาย
ง. ต่อมเพศผู้หญิง
ต่อมไร้ท่อชนิดใดต่อไปนี้ที่มีขนาดเล็กที่สุด
ก. เกาะแลงเกอร์ฮานส์
ข. พาราไทรอยด์
ค. คอร์ปัสลูเทียม
ง. ไพเนียล
ถ้า 1= estrogen 2 = progesterone 3 = luteinizing
ระดับของฮอร์โมนหลังจากการตกไข่จะเป็นอย่างไร
ก. 1 ลดลง , 2 เพิ่มขึ้น , 3 ลดลง
ข. 1 ลดลง , 2 เพิ่มขึ้น , 3 เพิ่มขึ้น
ค. 1 ลดลง , 2 ลดลง , 3 ลดลง
ง. 1 เพิ่มขึ้น , 2 เพิ่มขึ้น , 3 ลดลง
อวัยวะของคนที่ทำหน้าที่หลั่งเอนไซม์และฮอร์โมนคือ
ก. ต่อมหมวกไต
ข. ต่อมน้ำลาย
ค. ตับอ่อน
ง. ตับ
ในขณะที่ผู้หญิงมีประจำเดือนนั้น ระดับฮอร์โมนเพศในเลือดควรจะ
ก. มีเอสโทรเจนสูงมาก
ข. มีโพรเจสเทอโรนสูงมาก
ค. มีเอสโทรเจนและโพรเจสเทอโรนสูงมาก
ง. มีเอสโทรเจนและโพรเจสเทอโรนต่ำมาก
ต่อมไร้ท่อที่มีบทบาทควบคุมการใช้แคลเซียม ได้แก่
ก. ไทรอยด์
ข. ไทรอยด์และต่อมหมวกไต
ค. ไทรอยด์และไพเนียล
ง. ไทรอยด์และพาราไทรอยด์
ไอโอดีน เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับ
ก. ผลิต TSH จากต่อมใต้สมอง
ข. ผลิต Thyroxin จากต่อมไทรอยด์
ค. ห้ามไม่ให้เกิดคอพอก
ง. เมแทบอลิซึมทั่ว ๆ ไปของร่างกาย
ต่อมไร้ท่อที่เปลี่ยนแปลงโครงสร้าง และหน้าที่ในการผลิตฮอร์โมนมากที่สุดในร่างกายคือ
ก. รังไข่
ข. ต่อมใต้สมอง
ค. อัณฑะ
ง. สายรก
การที่ไก่ตัวผู้มีหงอน และขนที่หางยาวกว่าไก่ตัวเมีย เป็นเพราะการทำงานของฮอร์โมนใด
ก. Cortison
ข. Estrogen
ค. Testosterone
ง. Glucagon
การเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์อย่างกระทันหันถึงขนาดที่แสดงออกมาในลักษณะที่ฝืนกับอุปนิสัยเดิม เช่น เอาปืนไปยิงบุคคลที่ยั่วโทสะ เป็นผลจากการหลั่งฮอร์โมนใด
ก. นอร์อะดรีนาลีน จาก อะดรีนัลคอร์เทกซ์
ข. อะดรีนาลีน จาก อะดรีนัลคอร์เทกซ์
ค. นอร์อะดรีนาลิน จาก อะดรีนัลคอร์เทกซ์
ง. อะดรีนาลิน จาก ต่อมหมวกไตชั้นนอก
อวัยวะใดที่สามารถผลิตได้ทั้งน้ำย่อยและฮอร์โมน
ก. ตับ
ข. ตับอ่อน
ค. ลำไส้เล็ก
ง. ลำไส้ใหญ่
ฮอร์โมนกับผลที่เกิดคู่ใดไม่ถูกต้อง
ก. ออกซีโทซิน - กระตุ้นมดลูกให้บีบตัวในช่วงคลอดลูก
ข. ไทรอกซิน - กระตุ้นกระบวนการเมแทบอลิซึม
ค. อินซูลิน – กระตุ้นการสลายตัวของไกลโคเจนในตับ
ง. ACTH - กระตุ้นการหลั่งกลูโคคอร์ติซอยด์ของอะดรีนัล คอร์เทกซ์
เพศหญิงช่วงที่มีประจำเดือนระดับฮอร์โมนที่ต่ำที่สุดคือ
ก. FSH
ข. LH
ค. เอสโทนเจน
ง. โพรเจสเทอโรน
Explore all questions with a free account