No student devices needed. Know more
40 questions
ข้อใดแสดงว่าพืชตอบสนองต่อแสงสว่าง
ก. ดอกบัวบานตอนกลางวันแล้วหุบในตอนเย็น
ข. เถาองุ่นพันรอบไม้ที่ทำเป็นร้านให้องุ่นเกาะ
ค. ต้นกาบหอยแครงดักจับแมลงวันที่เดินเข้าไปในใบ
ง. ลำต้นของพืชที่ปลูกในร่มชี้ไปทางหน้าต่าง
. ในการทดลองเกี่ยวกับการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช ครั้งหนึ่งใช้เมล็ดถั่วดำ 60 เมล็ด เพาะในกระถางที่ชื้นแล้วทิ้งให้งอกในที่มืด จนกระทั่งได้รากยาว 2 เซนติเมตร ขุดเมล็ดเหล่านั้นขึ้นทั้งหมด นำไปปลูกใหม่ในกระถางที่มีความชื้นสูงเช่นเดียวกัน แต่วางรากให้ขนานกับพื้น ถามว่าการทดลองนี้เป็นการทดสอบการตอบสนองของพืชต่ออะไร
ก. สารเคมี
ข. แสงสว่าง
ค. แรงโน้มถ่วง
ง. ความชื้น
ในพืชดอกที่มีการถ่ายละอองเรณูแล้วหลอดละอองเรณูจะงอกไปยังรังไข่ของดอกได้เพราะ
ก. สารเคมี
ข. แสงสว่าง
ค. แรงโน้มถ่วง
ง. ความชื้น
ต้นพริกไทยจะพันรอบหลักในการเจริญเติบโต แสดงว่ามีการตอบสนองต่อ
ก. การสัมผัส
ข. ความชื้นของหลัก
ค. สารเคมีที่หลัก
ง. แสงสว่าง
ในการทดลองปลูกต้นถั่วกับแสงสว่าง พบว่าแสงสว่างเป็นสิ่งเร้าให้ต้นถั่วเอนเข้าหาแสงสว่าง เพราะปัจจัยต่าง ๆ ยกเว้นปัจจัยในข้อใด
ก. ปัจจัยภายนอกต้น
ข. ปัจจัยภายในต้น
ค. ฮอร์โมนแพร่กระจายไม่เท่ากัน
ง. การเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของน้ำภายในเซลล์
ในการทดลองเพาะถั่วดำจากเมล็ด แล้วนำกระถางที่มีต้นที่งอกแล้วมาวางไว้ที่ต่าง กัน 3 แห่ง แห่งละกระถาง คือในที่โล่งแจ้ง ในที่มืด และในห้องที่มีแสงสว่างเข้าเฉพาะทางด้านข้าง พบว่าหลังทดลองมีลักษณะของต้นถั่วต่างกันอยู่ 3 ลักษณะ คือ กระถางแรก ต้นถั่วยาวมาก ต้นเล็กขาวทั้งต้นและใบ กระถางที่สองทุกต้นโค้งไปทางเดียวกันหมด ลำต้นเตี้ย แต่อวบกว่ากระถางแรก กระถางที่สาม ทุกต้นตั้งตรง อวบ ใบและลำต้นมีสีเขียว กระถางใดเป็นกระถางที่เจริญในความมืด
ก. กระถางแรก
ข. กระถางที่สอง
ค. กระถางที่สาม
ง. ทั้ง ก , ข , ค
สิ่งที่พืชใช้รับแสงคือ
ก. รงควัตถุ
ข. ขนาดของปากใบ
ค. อะไมโลพลาสต์
ง. ตัวรับความร้อน
ฮอร์โมนพืชคือ
ก. ไอออนที่ทำให้แรงดันเต่งเปลี่ยนแปลง
ข. รงควัตถุที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม
ค. สารเคมีที่เข้าร่วมทำงานกับเซลล์ของพืช
ง. สารประกอบที่ทำให้เกิดเมแทบอลิซึมขั้นที่สอง
สิ่งแรกที่พืชตอบสนองต่อสิ่งเร้าคือ
ก. การเจริญเติบโต
ข. สังเคราะห์รงควัตถุ
ค. ปิดปากใบและบิดใบ
ง. ปล่อยโครงสร้างบางส่วนหลุดร่วง
ออกซินที่พืชสร้างขึ้นตามธรรมชาตินั้นอยู่ในรูปของอะไร
ก. Indole butyric acid
ข. Indoleacetic acid
ค. Naphthalene acetic acid
ง. 2 , 4 – D
โครงสร้างทางเคมีของออกซินคล้ายคลึงกับโครงสร้างของสารใด
ก. Alanine
ข. Methionine
ค. Tyrosine
ง. Tryptophane
ส่วนใหญ่ของออกซินพืชสร้างขึ้นจากส่วนใด
ก. ใบ
ข. ตาข้าง
ค. ปลายยอด
ง. เนื้อเยื่อเจริญของราก
ออกซินทำหน้าที่สำคัญอย่างไนในเซลล์
ก. เร่งการแบ่งเซลล์
ข. ยืดเซลล์ให้ยาว
ค. เร่งการเปลี่ยนแปลงของเซลล์
ง. ทำให้เซลล์เต่ง
ไซโทไคนินกระตุ้นเซลล์ให้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
ก. แบ่งเซลล์
ข. ยืดเซลล์ให้ยาว
ค. ผนังเซลล์หนาขึ้น
ง. ทำให้เซลล์เต่ง
เมื่อปลายยอดของต้นไม้ถูกตัดทิ้งไป พืชจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
ก. สูงขึ้น
ข. เป็นพุ่มมากขึ้น
ค. โตช้าลง
ง. โตเร็วขึ้น
เมื่อพืชไม่มีดอกไม่มีผล พบว่าไซโทไคนินส่วนใหญ่ถูกสร้างบริเวณใด
ก. ใบ
ข. ตาข้าง
ค. ปลายยอด
ง. ราก
เมื่อพืชไม่มีดอกไม่มีผล พบว่าไซโทไคนินส่วนใหญ่ถูกสร้างบริเวณใด
ก. ใบ
ข. ตาข้าง
ค. ปลายยอด
ง. ราก
จิบเบอเรลลินถูกสร้างจากส่วนปลายยอดและปลายราก ทำให้เกิดอะไร
ก. ลำต้นยืดยาวขึ้น
ข. เอนเข้าหาแสง
ค. กิ่งด้านข้างเจริญ
ง. ใบและผลหลุดร่วง
การเจริญเติบโตในระยะแรกและระยะที่สองถูกทำให้หยุดชงักโดยสารใด
ก. Abscisic acid
ข. Cytokinin
ค. Auxin
ง. Gibberellins
เอทิลีนมีผลทำให้เกิดการเจริญเต็มที่ของอะไร
ก. กลุ่มเซลล์ที่จะเจริญไปเป็นใบ
ข. เนื้อเยื่อเจริญของรากที่มาจากพาเรงคิมา
ค. ผล
ง. วาสคิวลาร์ แคมเบียม
เอทิลีนมีลักษณะแตกต่างจากฮอร์โมนชนิดอื่น คือเป็นสารแบบใด
ก. แก๊ส
ข. ไม่เคลื่อนที่
ค. ลำเลียงทางไซเลม
ง. ลำเลียงทางโฟลเอ็ม
ต้นไม้แคระมักเกิดจากการขาดแคลนสารใด
ก. Abscisic acid
ข. Cytokinin
ค. Auxin
ง. Gibberellins
ต้นไมยราบหุบเมื่อโดนสัมผัสเป็นการเคลื่อนไหวของพืชแบบ
1. Geotropism
Thigmotropism
Chemotropism
Hydrotropism
การงอกของหลอดละอองเรณูไปยังรังไข่ของพืชดอกเกิดจากสิ่งเร้าในข้อใด
ความชื้น
สารเคมี
แรงโน้มถ่วงของโลก
ปัจจัยบางอย่างในละอองเรณูเอง
ต้นจามจุรีหุบใบเมื่อตะวันลับขอบฟ้า เป็นการเคลื่อนไหวของพืชแบบใด
1. Phototaxis
2. Phototropism
3. Thigmotropism
4. Nastic movement
Phototaxis
Phototropism
Thigmotropism
Nastic movement
ต้นจามจุรีหุบใบเมื่อตะวันลับขอบฟ้า เป็นการเคลื่อนไหวของพืชแบบใด
Phototaxis
Phototropism
Thigmotropism
Nastic movement
การเคลื่อนไหวในข้อใดไม่ใช่การเคลื่อนไหวอันเนื่องจากการเจริญ
การหุบ-กางของใบไมยราพ
การบานของดอก
การโค้งเข้าหาแสงของลำต้น
รากโค้งตามแรงโน้มถ่วงของโลก
ส่วนใดของพืชที่มีการตอบสนองต่อออกซินแต่ไม่ตอบสนองต่อจิบเบอเรลลิน
ใบ
ลำต้น
ราก
ดอก
โคลซิซิน (Colchicine) เป็นสารที่ยับยั้งการสร้างไมโทติกสปินเดิล ถ้าแช่รากหอมในสารละลายโคลซิซิน กระบวนการแบ่งเซลล์จะหยุดอยู่ที่ระยะใด
แอนาเฟส
เทโลเฟส
เมทาเฟส
อินเตอร์เฟส
การหุบหรือการบานของดอกบัว เป็นการตอบสนองแบบใด
Gravitropism (geotropism)
Hydrotropism
Thigmotropism
Photonasty
ในการปลูกสับปะรดเพื่ออุตสาหกรรมสับปะรดกระป๋อง มีการใช้ฮอร์โมนพืชชนิดใดมากและให้ผลดีอย่างไร
กรดแอบไซซิก ยับยั้งไม่ให้ต้นสูงเกินไป
จิบเบอเรลลิน ยืดก้านผลให้ยาวขึ้น
ออกซิน เร่งการเจริญเติบโตของราก
เอทิลีน ให้ออกดอกพร้อมกัน
กลุ่มเซลล์ตรงโคนก้านใบของไมยราบ มีความไวต่อสิ่งที่มากระตุ้น มีชื่อว่า
Epidermis cell
Endodermis cell
Guard cell
Pulvinus
ปัจจุบัน ฮอร์โมนพืชกลุ่มใดที่สามารถใช้กับพืชผลที่นำมาบริโภคได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
ออกซิน และ จิบเบอเรลลิน
จิบเบอเรลลิน และ ไซโทไคนิน
เอทิลีน และ จิบเบอเรลลิน
ออกซิน และ เอทิลีน
Thigmotropism เป็นการเคลื่อนไหวที่
อุณหภูมิเป็นสิ่งเร้า
แสงเป็นสิ่งเร้า
สิ่งสัมผัสเป็นสิ่งเร้า
สารเคมีเป็นสิ่งเร้า
การตอบสนองของพืชต่อการสัมผัสเรียกว่า
Chemotropism
Geotropism
Thigmotropism
Hydrotropism
ชื่อที่ไม่เป็นสิ่งเร้าในการเคลื่อนที่ของพืช
อุณหภูมิ
Gravity
Light
Oxygen
ชื่อทางเคมีของ Auxin คือ
Indole acetic acid
Antidiuretic acid
Lactogenic acid
Kinin
Tropism หรือ Tropic movement เป็นการเคลื่อนไหวของพืชที่
เกิดจากการเจริญเติบโต และมีความสัมพันธ์กับสิ่งเร้า
ตอบสนองสิ่งเร้าภายในพืชเอง
ตอบสนองสิ่งเร้าภายนอกต้น
ตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่ไม่เกี่ยวกับการเจริญเติบโต
การแตกกิ่งก้านของต้นกล้าถั่วลันเตา หลังจากถูกตัดยอดทิ้ง เกี่ยวข้องกับฮอร์โมนชนิดใด
ก. ไซโทไคนิน
ข. จิบเบอเรลลิน
ค. ออกซิน
ก
ก ข
ก ค
ข ค
การเคลื่อนไหวในข้อใดเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงแรงเต่ง
การปิด-เปิดของปากใบ
การหุบและบานของดอกบัว
การคลี่บานของดอกชบา
การเจริญพันหลักของต้นไม้เลื้อย
Explore all questions with a free account