
สอบ ม.2DRAFT
8th grade
30 times
World Languages
39%average accuracy
ใครคือผู้ทรงพระราชนิพนธ์โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์และโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
โสฬสไตรยางค์มีความหมายตรงตามข้อใด
“สิ่งใดในโลกล้วน เปลี่ยนแปลง
หนึ่งชราหย่อนแรง เร่งร้น
ความตายติดตามแสวง ทำชีพ ประลัยเฮย
………………………………………………………”
ควรเติมข้อใดจึงจะได้เนื้อความและฉันทลักษณ์ถูกต้อง
สุภาษิตข้อใดที่สอนเกี่ยวกับบุคลิกการวางตัวในสังคม
ข้อใดเป็นสามสิ่งควรเกลียด
ข้อใดกล่าวถึงการไม่ประมาณตน
ข้อใดเป็นสามสิ่งควรจะหวงแทน หรือต่อสู้เพื่อรักษา
“พักตร์จิตผิดกันประมาณ ยากรู้” มีความหมายตรงกับสำนวนในข้อใด
“สิ่งใดในโลกล้วน เปลี่ยนแปลง
หนึ่งชราหย่อนแรง เร่งร้น
ความตายติดตามแสวง ทำชีพ ประลัยเฮย
สามส่วนควรคิดค้น คติรู้เตรียมคอย”
คำประพันธ์ข้างต้นนี้ กล่าวถึงเรื่องใด
จากโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์ข้อใดเป็นสิ่งที่ “ควรใฝ่เฝ้า แต่ตั้งอธิษฐาน”
ความประพฤติในข้อใดที่ควรละเว้น
นฤทุมนาการ มีความหมายตามรูปศัพท์ตรงตามข้อใด
การพูดเพศนิทาน ในโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการนั้นเป็นการพูดเช่นไร
“ใดกิจผิดพลาดแล้ว ไป่ละ ลืมเลย
หย่อนทิฐิมานะ อ่อนน้อม
ขอโทษเพื่อคารวะ ...........................
ดีกว่าปดอ้อมค้อม คิดแก้โดยโกง”
ควรเติมข้อความใดลงในช่องว่างจึงจะถูกต้อง
ข้อใดสอนให้คนใช้วิจารณญาณในการฟัง
นิทานอีสปเป็นเรื่องที่แปลมาจากนิทานของชาติใด
“อีสปปกรณัม” คำว่า “ปกรณัม” ในที่นี้แปลว่าอะไร
ข้อใดมีความหมายต่างกับคำว่า “ปรปักษ์”
เรื่องบิดากับบุตรทั้งหลาย ให้ข้อคิดแก่ผู้อ่านตามข้อใด
นิทานอีสปเรื่องสุนัขป่ากับลูกแกะ ให้ข้อคิดแก่ผู้อ่านตามข้อใด
นิทานอีสปเรื่องกระต่ายกับเต่า ให้ข้อคิดแก่ผู้อ่านในเรื่องใด
ข้อใดให้ความหมายของคำศัพท์ไว้ไม่ถูกต้อง
กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้า ถอดความมาจากกวีนิพนธ์ของใคร
ใครเป็นผู้แปลกวีนิพนธ์เรื่องรำพึงในป่าช้า
“วังเอ๋ยวังเวง หง่างเหง่ง! ย่ำค่ำระฆังขาน”
ข้อความข้างต้นใช้โวหารภาพพจน์แบบใด
คำประพันธ์ต่อไปนี้มีคุณค่าด้านใด
“นกเอ๋ยนกแสก จับจ้องร้องแจ๊กเพียงแถกขวัญ
อยู่บนยอดหอระฆังบังแสงจันทร์ มีเถาวัลย์รุงรังถึงหลังคา
เหมือนมันฟ้องดวงจันทร์ให้ผันดู คนมาสู่ซ่องพักมันรักษา
ถือเป็นที่รโหฐานนมนานมา ให้เลื่อมผาสุกสันต์ของมันเอย”
ข้อใดคือแก่นของนิราศ
''ให้เห็นอกตกยากเมื่อจาจร ไปดงแดนป่า พนาวัน
คำประพันธ์ในข้อใดมีความหมายต่างจากคำที่ขีดเส้นใต้
''ครู่หนึ่งถึงชะวากชากลูกหว้า ล้วนพฤกษายางยูงสูงไสว
คำประพันธ์ในข้อใดมีความหมายเหมือนคำที่ขีดเส้นใต้
คำประพันธ์ในข้อใด ถ้าแบ่งวรรคผิดจะทำให้สื่อความหมายผิด