No student devices needed. Know more
39 questions
สูตรโครงสร้างของ 4 , 5– Dimethyl –2– hexyne คือข้อใด
สารใดมีจุดเดือดสูงที่สุด
แก๊สใดผสมกับแก๊สออกซิเจนในอัตราส่วนพอเหมาะเมื่อติดจะได้เปลวไฟที่มีความร้อนสูงกว่า 2000 °C ใช้ในการเชื่อมและตัดโลหะ
C2H2
CH4
C2H4
C3H8
C6H10 คือสารใด
hexane
Hexene
cyclohexene
hexyne
สาร X สามารถฟอกสีโบรมีนในที่มืดได้ และถ้าใช้สาร X 2 โมล จะต้องใช้โบรมีน 8 โมลอะตอม สาร X คือสารใด
ง. ข้อ ก. และ ค. ถูก
สาร A มีสูตรโมเลกุล C8H14 พิจารณาสารประกอบต่อไปนี้
1. ไซโคลแอลเคน
2. ไซโคลแอลเคน 2 วงติดกัน
3. ไซโคลแอลคีน
4. วงของไซโคลแอลเคนและไซโคลแอลคีนติดกัน
5. สารประกอบแอลไคน์
6. สารประกอบอะโรมาติก
สาร A อาจเป็นสารประกอบใดได้บ้าง
6
1 , 4 , 5
1 , 2 , 5
2 , 3 , 5
จากการทดลอง ได้ข้อมูลดังนี้
1. ติดไฟง่าย ให้เขม่า
2. ฟอกจางสีสารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต
3. ฟอกจางสีสารละลายโบรมีนโดยไม่เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสสีน้ำเงิน
ผลการทดลองดังกล่าวเป็นสมบัติของสารในข้อใด
C5H10 กับ C6H14
C6H10 กับ C5H10
C6H14 กับ C6H6
C6H6 กับ C5H10
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน A และ B เกิดปฏิกิริยาได้ดังนี้
A และ B เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนประเภทใดตามลำดับ
อิ่มตัว , ไม่อิ่มตัว
ไม่อิ่มตัว , ไม่อิ่มตัว
ไม่อิ่มตัว , อิ่มตัว
อิ่มตัว , ไม่อิ่มตัว
สาร X ทำปฏิกิริยากับสารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตได้ตะกอนสีน้ำตาล และผลิตภัณฑ์ Y ซึ่งมีสูตรเป็น C7H14O2 สาร X ควรเป็นสารใด
C7H16
C7H14
C7H12
C6H14
สารอินทรีย์ที่มีสูตรโครงสร้างแบบเส้นและมุมเป็นดังรูป เมื่อเกิดปฏิกิริยาเผาไหม้อย่างสมบูรณ์กับแก๊สออกซิเจน สมการที่ดุลแล้วมีจำนวนโมลรวมของสารทั้งหมดเป็นเท่าใด
17 mol
19 mol
21 mol
24 mol
เมื่อนำไฮโดรคาร์บอน A หนัก 6.6 กรัม มาทำปฏิกิริยากับโบรมีน ซึ่งมีปริมาณมากเกินพอ เกิดเป็นสาร B ดังนั้นสาร B ที่เกิดขึ้นจะมีมวลกี่กรัม (C = 12 H = 1)
16.6 g
32.6 g
48.6 g
54.6 g
แก๊สอีไทน์ 1 โมลทำปฏิกิริยาพอดีกับแก๊ส H2 2 โมล โดยมี Ni เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา เมื่อปฏิกิริยาเกิดอย่างสมบูรณ์ จะได้ผลิตภัณฑ์ดังข้อใด
ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีสูตรทั่วไป CnH2n+2 ซึ่งไม่ฟอกสี KMnO4
ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีสูตรทั่วไป CnH2n ซึ่งฟอกสี Br2 ในที่มืดได้
ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีสูตรทั่วไป CnH2n ซึ่งฟอกจางสี KMnO4 ได้
ไม่มีข้อใดถูก
A เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอน เมื่อเกิดการเผาไหม้สมบูรณ์ จะต้องใช้แก๊สออกซิเจน ปริมาตร เป็น 2 เท่าของไอน้ำที่เกิดขึ้น สาร A คือข้อใด
C4H8
C6H8
C6H6
C10H8
สารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีพันธะสาม มีชื่อเรียกว่า
Alkane
Alkene
Olefin
Alkyne
แอลไคน์โมเลกุลที่เล็กที่สุด มีชื่อว่าอะไร
Ethylene
Acetylene
Propylene
Butylene
ข้อใดเป็นสูตรทั่วไปของแอลไคน์
CnH2n+2
CnH2n+1
CnH2n
CnH2n–2
แอลไคน์ เป็นไอโซเมอร์โครงสร้างกับสารในข้อใด
แอลเคนโซ่ปิด
แอลคีนโซ่เปิด
แอลคีนโซ่ปิด
อะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน
ข้อใดเป็นสูตรโมเลกุลของ 3–เอทิล–4–เมทิล–1–เพนไทน์
C8H14
C7H14
C7H12
C8H12
ชื่อ IUPAC ของสารนี้คือ
5–ethyl–2–methyl–3–decyne
2–methyl–5–ethyl–3–decyne
2,5–diethyl–3–decyne
5–ethyl–2–methyl–3–nonyne
มุมพันธะของ C ที่สร้างพันธะสามต่อกัน มีค่าเท่าใด
109o
120o
180o
90o
ไอโซเมอร์ของแอลไคน์ C5H8 มีจำนวนเท่าใด
3
4
5
6
แอลไคน์ที่มีจำนวน C = 9 มีสถานะเป็นอย่างไร
แก๊ส
ของแข็ง
ของเหลว
บอกไม่ได้ เพราะข้อมูลไม่เพียงพอ
ข้อใดไม่ใช่สมบัติของแอลไคน์
ไม่ละลายน้ำ
ไม่ละลายในตัวทำละลายอินทรีย์
ไม่เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัส
เมื่อเผาไหม้ให้เขม่าและควัน
แอลไคน์ใดใช้เป็นเชื้อเพลิงในการเชื่อมและตัดโลหะ
เอทิลีน
อะเซทิลีน
เมทิลอะเซทิลีน
เอทิลอะเซทิลีน
แอลไคน์ที่มีพันธะสามอยู่ตรง C ตำแหน่งที่ 1 เมื่อเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันกับ KMnO4 จะได้ผลิตภัณฑ์เป็นสารในข้อใด
แอลกอฮอล์
กรดคาร์บอกซิลิก
เอสเทอร์
แอลดีไฮด์
แอลไคน์ที่มีพันธะสามอยู่ตรง C ตำแหน่งที่ 2 เป็นต้นไป เมื่อเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันกับ KMnO4 จะได้ผลิตภัณฑ์เป็นสารในข้อใด
เอสเทอร์
กรดคาร์บอกซิลิก
แอลดีไฺด์
คีโตน
ข้อใดเป็นสารตั้งต้นในการเตรียมแก๊สอะเซทิลีน
CaC2 + H2O
CaC2 + H3O+
CaC2 + OH–
CaC2 + CH3OH
Propane เตรียมได้จากปฏิกิริยา Hydrogenation ของแอลไคน์ใด
propylene
cyclopropane
methyl acetylene
propene
สารประกอบใดเป็นแอลไคน์
C3H4
C3H6
C4H8
C3H8
สารประกอบใดสามารถฟอกจางสีของสารละลาย Br2 ได้
2–เพนทีน
3–เฮกซีน
3–เฮกไซน์
ถูกทุกข้อ
สารประกอบข้อใดเป็นสารประกอบแอลไคน์
ถูกทุกข้อ
สารประกอบดังรูปอ่านว่า “X– Octyne” ค่า X มีค่าเท่ากับข้อใด
1
2
6
ไม่มีข้อใดถูก
ข้อใดคือ “ไอโซเมอร์” ของ 2–เฮปไทน์
สารประกอบที่มีชื่อว่า “1–บิวไทน์” มีจำนวน C และ H อย่างละกี่อะตอม ตามลำดับ
3 และ 8
6 และ 5
4 และ 6
6 และ 4
3–เอทิล–1–เพนไทน์ คือข้อใด
ชื่อตามระบบ IUPAC ของสารนี้คือข้อใด
3–เฮกไซน์
1–เพนไทน์
1–เฮกไซน์
5–เฮกไซน์
ข้อใดเป็นไอโซเมอร์ของ 2–เฮกไซน์
โครงสร้างใดคือ โครงสร้างของสารนี้
สาร X ทำปฏิกิริยากับสารละลายโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนตได้ตะกอนสีน้ำตาล และผลิตภัณฑ์ Y ซึ่งมีสูตรเป็น C7H14O2 สาร X ควรเป็นสารใด
C7H16
C7H14
C7H12
C6H14
Explore all questions with a free account