
ข้อใดตรงกับความหมายของคำว่า “ตลาด” ในทางเศรษฐศาสตร์
กิจการสาธารณูปโภคของรัฐ เช่น ไฟฟ้า ประปา จัดเป็นสินค้าในตลาดประเภทใด
ตลาดสินค้าและบริการประเภทใดต่อไปนี้ที่ถือว่าเป็นลักษณะใกล้เคียงตลาดแข่งขันสมบูรณ์มากที่สุด
ความต้องการของผู้บริโภคที่จะซื้อสินค้าและบริการในราคาที่กำหนดและสามารถซื้อสินค้าและบริการนั้น ในทางเศรษฐศาสตร์ เรียกว่าอะไร
นิยามของกฎอุปสงค์เกิดขึ้นจากอะไร
“ถ้าราคาสินค้าลดลง ผู้ผลิตสินค้าออกมาจำหน่ายลดลง ถ้าราคาสินค้าเพิ่มขึ้น ผู้ผลิตสินค้าจะผลิตสินค้าออกมาจำหน่ายเพิ่มขึ้น” ข้อความดังกล่าวสอดคล้องกับข้อใด
แนวความคิดอุปสงค์ อุปทานสามารถนำไปใช้ในตลาดใด
“ถ้าราคาสินค้าและบริการใดๆ เพิ่มขึ้น ความต้องการซื้อสินค้าและบริการนั้นจะลดน้อยลง ถ้าราคาสินค้าหรือบริการใดๆ ลดลง ความต้องการซื้อสินค้าและบริการนั้น จะเพิ่มขึ้น” ข้อความดังกล่าวสอดคล้องกับข้อใด
ข้อความเกี่ยวกับปัจจัยกำหนดอุปทานข้อใดถูกต้อง
การปรับตัวที่ทำให้ปริมาณซื้อและปริมาณขายเท่ากัน
พอดี ณ ระดับราคาใดราคาหนึ่งนั้น สอดคล้องกับข้อใด
ข้อใดเป็นไปตามกฎของอุปทาน
ปัจจัยใด ไม่ ส่งผลต่อการกำหนดอุปสงค์
“เมื่อเนื้อไก่ขึ้นราคา สมใจจึงซื้อเนื้อปลาไปทำกับข้าวแทน” จากข้อความนี้ปัจจัยใดมีผลต่อความต้องการซื้อของสมใจ
“มนัสซื้อรองเท้ากีฬายี่ห้อดังและมีราคาแพง แม้ว่าจะต้องเก็บเงินนานเป็นเดือน” จากข้อความนี้ปัจจัยใด มีผลต่อความต้องการซื้อของมนัส
ฤดูกาลมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์ของสินค้าในข้อใด
ปัจจัยการผลิตในข้อใดที่ทำให้ประเทศไทยได้เปรียบต่างประเทศในการเข้ามาลงทุนทำธุรกิจด้านต่าง ๆ
ถ้าราคาข้าวเปลือกและข้าวสารสูงขึ้น ข้อใดเป็นไปตามหลักเศรษฐศาสตร์
ข้อใดเป็นเศรษฐศาสตร์สำหรับผู้บริโภค
“ถ้าในตลาดมีผู้ขายเพียงรายเดียว อาจกำหนดราคาสินค้าให้สูงได้” ข้อความดังกล่าวสอดคล้องกับปัจจัยการกำหนดราคาในข้อใด
ข้อใดคือความหมายของกลไกราคา
ข้อดีของตลาดแข่งขันสมบูรณ์ คืออะไร
ข้อความใดสอดคล้องกับลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
“ตลาดสี่มุมเมืองจะมีสินค้าจากเกษตรกรนำมาขายจำนวนมาก ส่วนตลาดรถยนต์จะมีอยู่ในตัวเมืองของทุกจังหวัด” ข้อความดังกล่าวเป็นการแบ่งลักษณะของตลาดตามข้อใด
เงินเฟ้อ คือข้อใด
ภาวะเงินเฟ้อทำให้บุคคลกลุ่มใดเสียประโยชน์